(ด้านงานอาชีวอนามัย)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
Advertisements

ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
แผนการดำเนินงานของทีมบริหาร ด้านพัฒนาบุคลากร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(ด้านงานอาชีวอนามัย) สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ด้านงานอาชีวอนามัย) โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

การบริหารจัดการ กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ แต่งตั้งคณะกรรมการ ปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ กำหนดตัวชี้วัด ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามประเมินผล

ขอบเขตงาน 1.เฝ้าระวังสุขภาพ เชิงรุกและเชิงรับ การสร้างเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค 2.เฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อม ประเมินความเสี่ยงการทำงานของบุคลากรในการทำงาน จัดแนวทางการแก้ไขความเสี่ยง ติดตามประเมินผล

แผนภูมิงานอาชีวอนามัย ประธานคณะกรรมการ ENV พญ.ศรีสกุล อุ่นพันธ์ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายสุขาภิบาลและป้องกันโรค ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์ดูแลสุขภาพ นายสายันต์ เปี่ยมทองคำ นายภูวดล มนต์วิรัตน์กุล นางสาวผาสุก กัลย์จารึก นางสาววิไลลักษณ์ ผกากาญจน์ งานอาชีวอนามัย (ในโรงพยาบาล) งานอาชีวอนามัย (นอกโรงพยาบาล) งานสร้างเสริมสุขภาพ (ใน/นอก โรงพยาบาล) งานตรวจสุขภาพบุคลากรและทดสอบสมรรถภาพ ทีมสหวิชาชีพ

แผนภูมิความเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย และ เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการENV คณะกรรมการ IC คณะกรรมการ RM คณะกรรมการHPH คณะทำงาน PCT หน่วยงานต่างๆ : จป ICWN คณะกรรมการประสานบริการ คณะทำงาน HWP คณะทำงาน 5ส คณะทำงาน (SHE)

การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การดำเนินงานอาชีวอนามัยของฝ่ายบริหาร

การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การดำเนินงานอาชีวอนามัยโดยความร่วมมือ จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 1 ราชบุรี

การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การดำเนินงานอาชีวอนามัยโดยความร่วมมือ จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 1 ราชบุรี

การดำเนินงานทางด้านการยศาสตร์ ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

งานอาชีวอนามัยกับการส่งเสริมสุขภาพ สนับสนุนโครงการถนนสีขาว สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ สนับสนุนอุปกรณ์การออกกำลังกาย สนับสนุนกิจกรรมด้านโภชนาการอาหาร สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการใช้อุปกรณ์ป้องกัน สนับสนุนการตรวจสุขภาพบุคลากร สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

การส่งเสริมสุขภาพด้านความปลอดภัย จัดอบรมโครงการถนนสีขาว

กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ

กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ สนับสนุนโครงการผักปลอดสารพิษ

กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ สนับสนุนอุปกรณ์การออกกำลังกายกำลังกาย

กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ การแนะนำตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านการรักษาความสะอาด

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านการรักษาความสะอาด

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัย

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านการปรับปรุงภูมิทัศน์

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม ด้านการปรับปรุงภูมิทัศน์

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน

การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การสนับสนุนการใช้อุปกรณ์ป้องกัน

การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การสนับสนุนการตรวจสุขภาพบุคลากร

ตารางแสดงการตรวจสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553 ตารางแสดงการตรวจสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553 การตรวจสุขภาพ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) ร้อยละ บุคลากรทั้งหมด 374 100 392 439 ได้รับการตรวจสุขภาพ 316 84.50 335 85.45 395 89.97 ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ 58 15.50 57 14.55 44 10.03

ตารางแสดงผลสรุปภาวะสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553 ตารางแสดงผลสรุปภาวะสุขภาพบุคลากร ปี 2550 - 2551 ปี 2553 ผลการตรวจ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) ร้อยละ ปกติ 296 93.67 317 94.64 337 85.32 ผิดปกติ 20 6.33 18 5.36 58 14.68 รวม 316 100 335 395

ผลการตรวจสุขภาพประจำปี 2550-2551 ปี 2553 โรค ปี 2550 ปี 2551 ปี 2553 จำนวน (คน) จำนวนที่ ผิดปกติ(คน) จำนวนที่ผิดปกติ(คน) ไขมันในเลือดสูง 133 42 143 97 167 110 ความดันโลหิตสูง 316 5 335 11 395 13 เบาหวานแฝง 15 188 34 เบาหวาน 8 6 4 วัณโรคปอด 1 3

การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง ประเมินความ เสี่ยงของงาน จำนวน (คน) พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2553 ปกติ ผิดปกติ 1.การตรวจ สมรรถภาพปอด 13 25 18 7 31 2.ตรวจสารปรอท 10 11 3.ตรวจเคมีบำบัด 28 27 17 4.ตรวจสารเคมี ในเลือด NA 3

ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง (ต่อ) ประเมินความเสี่ยงของงาน จำนวน (คน) พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2553 ปกติ ผิดปกติ 5.ตรวจNasal Swab NA 11 6.ตรวจวัดสายตา 100 12 88 9 7.ตรวจการได้ยิน 29 22 7 24

สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปัญหาสุขภาพกาย * BMI >25 ร้อยละ 20.75 * รอบเอวเกิน ร้อยละ 24.05 * โคเลสเตรอลสูง ร้อยละ 65.87 ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพ * การออกกำลังกายน้อย ร้อยละ 25.29 * บุคลากรสูบบุหรี่ ร้อยละ 4.37 * บริโภคอาหารที่มีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 58.82

การให้ภูมิคุ้มกันโรค ในบุคลากรกลุ่มเสี่ยง วัคซีน 2551 (ร้อยละ) 2552 2553 ไข้หวัดใหญ่ 85.02 61.73 46.45 Hepatitis A NA 80.00 Hepatitis B 84.90 87.09

ความภาคภูมิใจ ระดับ4 งานอาชีวอนามัยผ่านการรับรองการดำเนินงาน การประเมินความเสี่ยงการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาล ระดับ4

โอกาสพัฒนา บูรณาการความเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่างๆ ให้เกิดการดำเนินงานอาชีวอนามัยแบบครบวงจร จัดหาอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน รณรงค์การรักษาสิ่งแวดล้อมและจัดการด้านความปลอดภัย ให้เอื้อต่อการให้บริการอย่างต่อเนื่อง