นโยบายรัฐบาล (16+9) และยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
แผนและยุทธศาสตร์ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
Evaluation of Thailand Master Plan
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ 2557 และ ยุทธศาสตร์ วท. นโยบายรัฐบาล (16+9) และยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 1. ยุทธศาสตร์เพื่อเร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 6.1 การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 6.2 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 6.1.1 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ สร้างความร่วมมือระหว่างนักวิจัยสถาบัน การศึกษา สถาบันวิจัยทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคและภาคการผลิตและชุมชนในการลงทุนวิจัยและพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งพัฒนากลไกและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อสนับสนุนการลงทุนวิจัย พัฒนานวัตกรรม และสร้างองค์ความรู้ 6.1.2 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และชุมชน โดยให้ความ สำคัญกับการพัฒนากลไกการถ่ายทอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ (Transla tional Research) กระบวนการจดสิทธิบัตร และการจัดสรรสิทธิประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญา 6.1.3 สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการจัดการความรู้ ทั้งภูมิปัญญาไทยและความรู้ปัจจุบันที่มีอยู่ในตัวคน ความรู้ทางเทคโนโลยี และความรู้ในวิทยาการด้านต่างๆ ให้เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 6.1.4 สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให้เกิดการนำไปใช้ในการพัฒนาตลอดห่วงโซ่อุปทาน และรวมถึงการจัดตั้งอุทยานวิทยา ศาสตร์ระดับภูมิภาค (Regional Science Parks) เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี 6.1.5 สนับสนุนการผลิตบุคลากรวิจัยและพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มสัดส่วนบุคลากรวิจัยและพัฒนาที่มีคุณภาพให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และเป็นกลไกสำคัญในการสร้างองค์ความรู้และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้มีศักยภาพการแข่งขันที่สูงขึ้น และแก้ไขปัญหาการพัฒนาของประเทศในด้านต่างๆ 6.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน สร้างความตระหนักให้ประชาชน เรียนรู้ คิด และทำอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สนับสนุนให้มีแหล่งความรู้สาธารณะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างทั่วถึง 6.2.2 ส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านวิทยา ศาสตร์และ เทคโน- โลยี อย่างต่อเนื่อง 6.2.3 สนับสนุนภาค เอกชนและชุมชนในการพัฒนาขีดความ สามารถด้าน เทคโน- โลยี วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับภาครัฐ 6.2.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยา ศาสตร์ เทคโน- โลยี และนวัตกรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิตและการบริการ ทั้งการลงทุนเองหรือสนับสนุนให้เอกชนลงทุน 6.2.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศในการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ดิน การวางแผนด้านการเกษตร การป้องกันสาธารณภัยและการป้องกัน แก้ไขปัญหาภัยพิบัติ 1.1 การรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1.1.1 เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการไทยในการค้าและการลงทุนไทยในกลุ่มประเทศอาเซียน สนับสนุนการให้คำปรึกษาแก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าถึงแหล่งทุน การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลธุรกิจและงานวิจัย การทำตลาดเชิงรุก การประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการของไทยเพื่อขยายธุรกิจไปสู่ในภูมิภาค ควบคู่กับการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม ยุทธศาสตร์จัดสรรงบ 2557 ที่เกี่ยวข้องกับ วท. เป้าหมายที่ 9 ภาคเศรษฐกิจและสังคมใช้ประโยชน์จาก วทน. เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมายที่ 4 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน เป้าหมายที่ 5 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยี ผลงานวิจัยไปเพิ่มผลิตภาพการผลิตและคุณภาพผลิตภัณฑ์ รวมทั้งไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ 2 ภาคการผลิตและบริการมีบุคลากรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีศักยภาพรองรับการลงทุนวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และมีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาค เอกชน ในการบ่มเพาะและพัฒนากำลังคนทั้งวัยก่อนทำงานและวัยทำงาน เป้าหมายที่ 7 ภาคการผลิตและการบริการ ใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคในการยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัย เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐานและมีศักยภาพในการแข่งขัน เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน. ได้ เป้าหมายที่ 3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กเยาวชน ผู้ปฏิบัติการทางด้าน ว. และ ท. มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏ้บัติงานได้ เป้าหมายที่ 6 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ และมีธรรมาภิบาล เป้าหมายที่ 8 ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการภัยธรรมชาติอย่างมีประสิทธิผล เป้าหมายการให้บริการ วท. ณ 15 มี.ค. 2556

ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับคำของบประมาณปี 2557 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.การสร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก หลักสูตรการเรียนการสอน และการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติการทางด้าน ว. และ ท. เพื่อให้เป็นสังคมฐานความรู้ด้าน ว. และ ท. 3. การเร่งรัดการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ พัฒนาชีวิต และสร้างฐาน ความรู้ในภาค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และบริการ 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. เพื่อเพิ่มผลผลิตและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการป้องกันการกีดกันทางการค้า และรักษาสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ 6.การพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในประชาคมอาเซียนด้าน วทน. ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน. ได้ เป้าหมายที่ 2 ภาคการผลิตและบริการมีบุคลากรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีศักยภาพรองรับการลงทุนวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และมีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการบ่มเพาะและพัฒนากำลังคนทั้งวัยก่อนทำงานและวัยทำงาน เป้าหมายที่ 4 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน เป้าหมายที่ 5 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยี ผลงานวิจัยไปเพิ่มผลิตภาพการผลิตและคุณภาพผลิตภัณฑ์ เป้าหมายที่ 6 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ และมีธรรมาภิบาล เป้าหมายที่ 7 ภาคการผลิตและการบริการ ใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคในการยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัย เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐานและมีศักยภาพในการแข่งขัน เป้าหมายที่ 3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กเยาวชน ผู้ปฏิบัติการทางด้าน ว. และ ท. มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและการปฏิบัติงานได้ เป้าหมายที่ 9 ภาคเศรษฐกิจและสังคมใช้ประโยชน์จาก วทน. เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมายที่ 8 ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการภัยธรรมชาติอย่างมีประสิทธิผล เป้าประสงค์ 15. จำนวนโครงการความร่วมมือด้าน วทน.ระหว่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีแผนปฏิบัติการรองรับและมีการติดตามประเมินผล (โครงการ) 16. ร้อยละของความสำเร็จของการตรวจสอบสถานประกอบการตามมาตรฐานให้ครบถ้วนตามแผนที่กำหนด (ร้อยละ) 17. จำนวนการบริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) 18. จำนวนรายการวัดของห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาและรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากล (รายการ) 19. จำนวนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แผน และแนวทาง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับชาติ หรือคณะรัฐมนตรี หรือได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ (เรื่อง) 20. ร้อยละของกิจกรรมที่สามารถดำเนินการได้บรรลุเป้าหมายตามแผนด้านการส่งเสริมให้มีความโปร่งใส ป้องกัน ปราบปรามทุจริตและส่งเสริม คุ้มครองจริยธรรม (ร้อยละ) 23. จำนวนข้อเสนอแนะนโยบาย/แผนงานความร่วมมือด้าน วทน. ของไทยกับประเทศอาเซียนและภาคี (เรื่อง) 2. จำนวนกิจกรรม/หลักสูตรการบ่มเพาะ และ/หรือ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้าน ว. และ ท. เพื่อตอบสนองภาคการผลิตและบริการ (กิจกรรม/หลักสูตร) 3. จำนวนกำลังคนด้าน ว. และ ท.ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน วทน. (คน) 4. จำนวนกลไก/เครือข่ายความร่วมมือ/กฎระเบียบ/มาตรการที่สนับสนุนให้มีการใช้ประโยชน์กำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาขีดความสามารถภาคการผลิตและบริการ (กลไก/เครือข่าย/ฉบับ/มาตรการ) 5. จำนวนกำลังคนด้าน ว. และ ท. ที่ได้รับการสนับสนุนให้ไปช่วยพัฒนาขีดความสามารถในภาคการผลิตและบริการ (คน) 6. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน (ผลงาน) 7. จำนวนผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (คน) 8. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้าน วทน. (คน) 9. จำนวนผู้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติผลงานดีเด่นด้าน วทน. (คน) 10. จำนวนหลักสูตรเพื่อการฝึกอบรมและพัฒนาที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง (หลักสูตร) 11. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติต่อบุคลากรวิจัย (บทความ/คน) 12. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถ นำไปยื่นขอจดสิทธิบัตรต่อบุคลากรวิจัย (เรื่อง/คน) 13. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต เกษตร บริการและ ภาคสังคม/ชุมชน (เรื่อง) 14. จำนวนสถานประกอบการ/ชุมชนที่นำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (ราย) 21. จำนวนผู้ประกอบการที่ใช้บริการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคและ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่สามารถยกระดับทางเทคโนโลยีและนำผลงานวิจัยไปใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ (ราย) 22. จำนวนเรื่องที่นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศไปใช้ประโยชน์(เรื่อง) 1. จำนวนกำลังคน วทน. ที่ได้รับการส่งเสริมให้ทำวิจัยและพัฒนา (คน) ตัวชี้วัด 5.1 ผลักดันการนำเทคโนโลยีเพื่อสร้างขีดความสามารถของภาคการผลิต เกษตร และบริการ 5.2 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 5.3ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม ชุมชนและท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7.1 เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการดำเนินกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ มีนโยบายสนับสนุนที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ตลอดจนจัดให้มีสิทธิประโยชน์และสิ่งจูงใจให้กับผู้ประกอบการ 3.1 สร้างการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน และเผยแพร่ความรู้ด้าน วทน. สู่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร 3.2 เชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ปราชญ์ชาวบ้าน 3.3 เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานทางด้าน วทน. ในภาคส่วนต่างๆ 4.1 ผลักดันการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต เกษตร และบริการ 4.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 4.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของสังคม ชุมชนและท้องถิ่น 8.1 พัฒนางานวิจัยและคุณภาพการให้บริการทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 9.1 สร้างและผลักดันความร่วมมือด้าน วทน.กับประเทศในภูมิภาคอาเซียนและประเทศภาคี Version 1 1.1 ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลิตและสร้างเส้นทางอาชีพบุคลากร วทน. 2.1 ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างกลไกให้เกิดการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนบุคลากรที่มีศักยภาพจากต่างประเทศ และหน่วยงานวิจัย/เทคโนโลยี/สถาบันอุดมศึกษาภาครัฐไปปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม 2.2 ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการบ่มเพาะและพัฒนาเยาวชน นักเรียน นักศึกษาและบุคลากรวัยทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีคุณภาพตรงความต้องการของภาคการผลิตและบริการทั้งรัฐและเอกชน กลยุทธ์ 6.1 พัฒนาระบบทดสอบ สอบเทียบ วิเคราะห์คุณภาพและรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย 6.2 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบริหารจัดการกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ 6.3 เร่งพัฒนาศูนย์ ว. และ ท. เฉพาะทาง เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ 6.4 พัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพ 6.5 สร้างความร่วมมือในการพัฒนานโยบาย/แผน/ แนวทาง วทน. ของประเทศ และสร้างความร่วมมือด้าน วทน. ระหว่างประเทศ 6.6 พัฒนาและส่งเสริมบุคลากรให้ดำเนินการตามแนวทางธรรมาภิบาล สป./วศ./อพ. พว./สทน./สสนก./สนช./ศลช./วว. สป./วศ./พว./สทน./วว. สป./พว./สทอภ./สทน. สป. สทอภ. สวทน. หน่วยงานรับผิดชอบ สวทน. สป./วศ./ปส./พว./มว./สวทน./สทอภ./สทน./สซ./สดร./วว. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ *หมายเหตุ หน่วยงานรับผิดชอบ หมายถึง หน่วยงานที่มีโครงการ/ผลผลิต รองรับเป้าหมาย ณ 15 มี.ค. 2556

เป้าประสงค์ ผลผลิต/โครงการ เป้าหมายที่ 1 กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน. ได้ เป้าหมายที่ 2 ภาคการผลิตและบริการมีบุคลากรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีศักยภาพรองรับการลงทุนวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และมีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการบ่มเพาะและพัฒนากำลังคนทั้งวัยก่อนทำงานและวัยทำงาน เป้าหมายที่ 3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กเยาวชน ผู้ปฏิบัติการทางด้าน ว. และ ท. มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันวันและการปฏิบัติงานได้ เป้าหมายที่ 4 การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน เป้าหมายที่ 5 ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยี ผลงานวิจัยไปเพิ่มผลิตภาพการผลิตและคุณภาพผลิตภัณฑ์ เป้าหมายที่ 6 ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ และมีธรรมาภิบาล เป้าหมายที่ 7 ภาคการผลิตและการบริการ ใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคในการยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัย เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐานและมีศักยภาพในการแข่งขัน เป้าหมายที่ 8 ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการภัยธรรมชาติอย่างมีประสิทธิผล เป้าหมายที่ 9 ภาคเศรษฐกิจและสังคมใช้ประโยชน์จาก วทน. เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าประสงค์ โครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระยะที่ 3 (สป.) โครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รยะที่ 3+ (สป.) โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (สป.) โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (ระยะที่ 2) (สป.) โครงการความร่วมมือในการผลิตนักวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ระยะที่ 2) (สป.) การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พว.) การพัฒนากำลังคนด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) การพัฒนากำลังคนด้านเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) พัฒนา ผลิตกำลังคน ยกระดับสมรรถภาพและเพิ่มขีดความสามารถทางวิชาชีพ ทักษะ องค์ความรู้กำลังคน และสร้างแรงจูงใจ ขยายฐานบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (สวทน.) การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (สป.) กำลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนา (วศ.) ประชาชนได้รับความรู้ด้านพลังงานปรมาณู (ปส.) การให้บริการนิทรรศการวิทยาศาสตร์ (อพ.) การให้บริการกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (อพ.) โครงการพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า (พิพิธภัณฑ์รัชกาลที่ 9) (อพ.) โครงการศูนย์รวบรวมและถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรมชั้นสูงเพื่อการท่องเที่ยว (พิงคนคร) (อพ.) โครงการศูนย์รวบรวมและถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรมชั้นสูงเพื่อการเกษตร (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2) (อพ.) โครงการศูนย์รวบรวมองค์ความรู้และจัดแสดงการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ (อพ.) วิจัยและพัฒนา (พว.) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) ฐานความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.) นวัตกรรมที่พัฒนาและสนับสนุนไปสู่เชิงพาณิชย์ (สนช.) องค์ความรู้ ผลิตภัณฑ์ และบริการด้าน ชีววิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ และอุตสาหกรรม (ศลช.) การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วว.) การถ่ายทอดเทคโนโลยี (สป.) การวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี (วศ.) การถ่ายทอดเทคโนโลยี (พว.) การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วว.) ข้อเสนอแนะด้านนโยบายและแผน (สป.) โครงการศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค (สป.) โครงการก่อสร้างอาคารพัฒนาวัสดุอ้างอิงรับรองด้านมาตรวิทยาเคมี (สป.) ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาและรับรองความสามารถ (วศ.) สินค้าได้รับการตรวจสอบ สอบเทียบคุณภาพ (วศ.) การบริการสารสนเทศหอสมุดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วศ.) การกำกับดูแลการใช้พลังงานปรมาณูให้เกิดความปลอดภัย (ปส.) ข้อเสนอแนะนโยบายและแผนด้านพลังงานปรมาณู (ปส.) การให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พว.) กองทุนเพื่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยา (มว.) การจัดทำ และผลักดันข้อเสนอนโยบาย แผนและมาตรการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (สวทน.) การบริการข้อมูลดาวเทียมและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) โครงการระบบสำรวจโลกด้วยดาวเทียมของประเทศ ระยะที่ 2 (สทอภ.) การบริการเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) โครงการเพิ่มศักยภาพการฉายรังสีผลิตผลการเกษตรเพื่อการส่งออกด้วยเครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนบีม (สทน.) โครงการเพิ่มผลผลิตและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) โครงการจัดตั้งศูนย์ฉายรังสีผลิตผลลำไยสดเพื่อการส่งออกจังหวัดเชียงใหม่ (สทน.) การใช้ประโยชน์แสงซินโครตรอน (สซ.) การวิจัยและพัฒนาทางด้านดาราศาสตร์ (สดร.) การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์ (สดร.) การพัฒนากำลังคนด้านดาราศาสตร์ (สดร.) การให้บริการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วว.) โครงการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (นิคมธุรกิจวิทยาศาสตร์ภูมิภาค) (สป.) การจัดทำและพัฒนาภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) โครงการจัดทำข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐานมาตรส่วนใหญ่ของประเทศ (สทอภ.) โครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (สวทน.) ผลผลิต/โครงการ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ณ 15 มี.ค. 2556