ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
บทคัดย่อ การศึกษาสถานการณ์ การใช้กฎหมายสาธารณสุขของ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
แผนพัฒนาองค์กรปี งป. ๕๒ การปรับปรุงมาตรการเพื่อ ลดผลกระทบต่อสังคมจาก การดำเนินงานของหน่วย ( รหัส LD 7)
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ( กก. วล.) ในการประชุม ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ มีมติเห็นชอบ ในหลักการ ๑. เพิ่มเติมประเภทและขนาดของ.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง การนับระยะเวลาตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย

ความเป็นมาและผลกระทบจากการประกอบกิจการรับซื้อ สะสมยางก้อน

พท.ปลูกยางในจังหวัดเลย จำนวน ๖๙๐,๑๔๙ ไร่ ครอบคลุมทุกอำเภอ

การแปรรูป ยางก้อนถ้วย (> 90%)ยางแผ่น

เหตุผล

ตะแคงก้อนยาง กรีด เติมกรด วันที่ ๑ กรีด เติมกรด วันที่ ๒ ตะแคงก้อนยาง กรีด เติมกรด วันที่ ๓ เก็บ

สาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นของยางก้อนถ้วย

น้ำยางสดจากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวหรือสีครีม โดยมีอนุภาคยางแขวนลอย อยู่ในตัวกลางที่เป็นน้ำ ส่วนประกอบ ร้อยละ (โดยน้ำหนัก) สารที่เป็นของแข็งทั้งหมด 36       -  เนื้อยางแห้ง 33       -  สารกลุ่มโปรตีนและไขมัน 1 – 1.2       -  สารกลุ่มคาร์โบไฮเดรท 1       -  เถ้า <= 1 น้ำ 64

แบคทีเรีย - กลิ่นเหม็นจากการบูดเน่าของสารอินทรีย์ - ก๊าซชนิดต่าง ๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน น้ำยางพารา (> 6 ชั่วโมง)

การซื้อ - ขายยางพารา แหล่งรับซื้อ

สถานประกอบกิจการรับซื้อ - สะสมยางก้อน

ผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมจากสถานประกอบการรับ/สะสมยางก้อน ผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมจากสถานประกอบการรับ/สะสมยางก้อน

อุบัติเหตุทางจราจร

เมืองเลยฝนตกถนนลื่นขี้ยางเกิดอุบัติเหตุกว่า 15 จุด ตาย 1 บาดเจ็บระนาว ผู้สื่อข่าวรายงานว่า  เมื่อเวลาประมาณ 15.00 น.  วันที่ 20 มกราคม  2555 

น้ำก้อนยางที่หล่นลงบนพื้นดิน : เมื่อมีฝนตกจะส่งกลิ่นเหม็นฉุน ก้อนยาง : กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ของแบคทีเรีย ส่งกลิ่นเหม็นเน่าของสารอินทรีย์ กลิ่นเหม็น น้ำก้อนยางที่หล่นลงบนพื้นดิน : เมื่อมีฝนตกจะส่งกลิ่นเหม็นฉุน

น้ำเสีย สารอินทรีย์พวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันเป็นองค์ประกอบรวมกับกรด ที่ใช้ในการจับตัวของน้ำยาง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดมลพิษ (กลิ่นเหม็นฉุนของก๊าซ : ก๊าซมีเทน)

เรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ

เรื่องร้องเรียนเรื่องกลิ่นเหม็นจากสถานประกอบการรับซื้อ/สะสมยางก้อน ปี ๕๕ - ๕๖ ชาวบ้านสุดทนร้านซื้อเศษขี้ยางส่งกลิ่นเหม็นรบกวนชาวบ้านและโรงเรียน วันที่ 20/10/55 สสจ.เลย ๑๕ ครั้ง สื่อมวลชน ๑ ครั้ง ผวจ.เลย ๑ ครั้ง ปิดสถานประกอบการ ๒ แห่ง

ไม่มีมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการ ปัญหาการดำเนินการ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ออกตามความในมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ หมวด ๗ ว่าด้วยเรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ข้อ ๕ (๒) การล้าง การอบ การรม การสะสมยางดิบ ไม่มีมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการ

การดำเนินการเพื่อแก้ปัญหา

ประชุมกลุ่ม stake holder

สัมภาษณ์ประชาชนข้างเคียงสถานประกอบการ

น้ำจากยางก้อนที่หยดลงบนถนนระหว่างการขนส่ง ควบคุมสถานประกอบกิจการ กลิ่นเหม็น น้ำจากยางก้อนที่หยดลงบนถนนระหว่างการขนส่ง ถนนลื่น คอแห้ง ปวด/เวียนศีรษะ หายใจไม่สะดวก นอนไม่หลับ อุบัติเหตุจราจร ควบคุมสถานประกอบกิจการ มีการจัดการกำจัดกลิ่น และน้ำเสีย สถานประกอบการอยู่ห่างจากชุมชน กำหนดวันสะสมเพื่อป้องกันการเกิดกลิ่น มาตรการควบคุมการขนส่ง

มาตรการแก้ปัญหา

บังคับใช้โดย อปท. มาตรการควบคุม สถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือ ยางก้อนถ้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับสุขลักษณะและสถานที่ตั้ง ของสถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือ ยางก้อนถ้วย ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย บังคับใช้โดย อปท.

กำหนดหลักเกณฑ์ ฯ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ ขั้นตอนการดำเนินการ กำหนดหลักเกณฑ์ ฯ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ

สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง การดำเนินกิจการ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ ยกร่าง สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง การดำเนินกิจการ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) สำรวจสถานประกอบกิจการ ออกแบบสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ

อยู่ในภาวะที่ยอมรับได้ ทดลองดำเนินการ ประเมินผล อยู่ในภาวะที่ยอมรับได้

การปรับปรุงแก้ไขร่าง ฯ คณะกรรมการ ฯ (๑๒ กย. ๕๖) วิพากษ์ ฯ (๑๗ กย. ๕๖) รับรองร่าง ฯ (๒๕ กย. ๕๖)

ร่าง ฯ ฉบับสมบูรณ์ นำไปการปฏิบัติ ขอความร่วมมือจาก อปท. ทั้ง ๑๐๐ แห่ง พท.นำร่อง ๖ แห่ง ติดตาม ประเมินผล