โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
Advertisements

กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส.
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
นายขจร เราประเสริฐ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
งบประมาณและเป้าหมายการปฏิบัติงาน โครงการภายใต้แผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2553 นายวิรัตน์ เพียรวิทยา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว.
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจข้อมูลผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชน ในปีการผลิต 2554/2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลแหล่งเมล็ดพันธุ์ข้าวในการสนับสนุนมาตรการเยี่ยวยาชาวนาหลังน้ำลด.
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553 โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553 แผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กรมพัฒนาที่ดิน (ตามผลการประชาคม) โดย นายปรีดา ศรีสุวรรณ ผอ.สพด.สงขลา (ผู้แทน ผอ.สพข.12) สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 กรมพัฒนาที่ดิน

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่อปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่นาร้างทั้งในและนอกเขตชลประทาน ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ในการปลูกข้าวเพื่อเพิ่มผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อการบริโภค เป้าหมาย 1) ผลผลิต (Output) ปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว จำนวน 4,064.75 ไร่ 2) ผลลัพธ์ (Outcome) พื้นที่นาร้างได้รับการปรับปรุง ให้สามารถใช้ประโยชน ที่ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม เพิ่มผลผลิต 3) ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น

สถานที่ตั้งของโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ  1 ปี พ.ศ. 2553 สถานที่ตั้งของโครงการ  พื้นที่นาร้าง 5 จังหวัด ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และสงขลา

ขอบเขตและวิธีดำเนินงาน 1) สำรวจและคัดเลือกพื้นที่นาร้างที่อยู่ในและนอกเขตชลประทานและปรับปรุงพื้นที่โดยไถ 2 ครั้ง (การเตรียมพื้นที่) 2) ปรับปรุงคุณภาพดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยพืชสด/น้ำหมักชีวภาพ และวัสดุปรับปรุงดิน 3) บูรณาการกับกรมการข้าว เพื่อสนับสนุนพันธุ์ข้าว ถ่ายทอดเทคโนโลยี และการบำรุงรักษา

ค่าใช้จ่ายและแหล่งที่มา  งบประมาณฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะปานกลาง (พ.ศ. 2553 – 2555) ปี 2553 พื้นที่ 4,064.75 ไร่ งบประมาณ 5,284,100 บาท (ตามผลประชาคม) จังหวัดสงขลา พื้นที่ 922.50 ไร่ งบประมาณ 1,199,250 บาท จังหวัดปัตตานี พื้นที่ 1,210.75 ไร่ งบประมาณ 1,573,900 บาท จังหวัดยะลา พื้นที่ 417.25 ไร่ งบประมาณ 542,425 บาท จังหวัดนราธิวาส พื้นที่ 563.75 ไร่ งบประมาณ 732,875 บาท จังหวัดสตูล พื้นที่ 950.50 ไร่ งบประมาณ 1,235,650 บาท

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) พื้นที่นาร้างได้รับการปรับปรุงและฟื้นฟูให้มีศักยภาพในการปลูกข้าว 2) ช่วยให้เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 3) เพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตในการปลูกข้าวให้เพียงพอต่อการบริโภค

ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย  เกษตรกรทั่วไปในพื้นที่ 5 จังหวัด คือ จังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จังหวัด เป้าหมาย รวมพื้นที่ จำนวนหมู่บ้าน จำนวนเกษตรกร นาปี นาปรัง (ไร่) สงขลา 704.75 217.75 922.50 38 207 สตูล 950.50 - 20 230 ปัตตานี 857.75 353 1,210.75 250 ยะลา 417.25 417.75 10 101 นราธิวาส 563.75 36 124 รวมทั้งสิ้น 3,494 570.75 4,064.75 912

พื้นที่นาปรังจังหวัดสงขลา รายชื่อเกษตรกรเจ้าของแปลง

รูปการไถเตรียมดิน

 ข้อมูลจากส่วนโครงการพิเศษ กองแผนงาน กรมพัฒนาที่ดิน