แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
Good Corporate Governance
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
กระชุ่มกระชวย (ค.ศ ) (พ.ศ )
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
โครงสร้างขององค์การ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ เสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism) เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics) เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)

เสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism) Free Market กลไกตลาด Invisible Hand Equilibrium เอกชนมีสิทธิ เสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐบาล ไม่เข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ

เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics แก้ปัญหาทุนนิยมเสรี บทบาทรัฐ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ เช่น เงินเฟ้อ เงินฝืด สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยใช้ นโยบายการเงิน เช่น ดอกเบี้ย นโยบายการคลัง เช่น Infrastructure

เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism) การตัดสินใจปัจเจกบุคคล และกรรมสิทธ์ส่วนบุคคล Utility Maximization Optimization การแข่งขัน ความร่วมมือ ประสิทธิภาพ ความเท่าเทียมกัน

เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism) เน้นสร้างบรรยากาศการค้า การลงทุนกับเอกชน เน้น MNCs ส่งเสริมกระบวนการผลิต เน้น FDI ผลที่เกิดขึ้น การไล่กวดทางเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา

นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่ 1. Economic Liberalization การเปิดเสรีทางการค้า การลงทุน และการเงิน กลไกตลาดทำงานอย่างเสรี ไม่มีอุปสรรคกีดขวางการไหลของเงินลงทุน การค้าระหว่างประเทศ

2.Deregulation รัฐบาลยกเลิกกฎเกณฑ์ การกำกับ การควบคุมกฎระเบียบ เช่น ยกเลิกการแทรกแซงตลาด หน้าที่ของรัฐบาล คือ รักษากฎกติกาเท่านั้น

3.Privatization การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ จุดมุ่งหมาย ลดภาระการเงินของรัฐบาลลง เพิ่มประสิทธิภาพการบริการสินค้าแก่ประชาชน การเพิ่มโอกาสให้เอกชนเข้ามาดำเนินกิจการของรัฐมากขึ้น การกระจายหุ้นรัฐวิสาหกิจในตลาดหลักทรัพย์ การยกเลิกการผูกขาด เปิดโอกาสการแข่งขันทางธุรกิจของเอกชนมากขึ้น

การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น รักษาอัตราเงินเฟ้อ ให้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ 4. Price Stabilization การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น รักษาอัตราเงินเฟ้อ ให้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ควบคุมเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting Policy)

การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ (Financial Liberalization) การทำให้ธุรกรรมระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงิน เช่น หุ้น พันธบัตร เงินตราต่างประเทศ เงินฝาก เงินกู้ ตราสารอนุพันธ์ รวมถึงเงินลงทุน เป็นไปอย่างเสรีตามกลไกตลาด

การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ (Financial Liberalization) ลดการกำกับควบคุมโดยรัฐ ยกเลิกข้อจำกัดและกฎกติกาที่เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ รัฐทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ดูแลและรักษากติกาของระบบ

ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ 1.Financial markets and Financial Institutions เชื่อมโยงการเงินระหว่างประเทศเข้าด้วยกัน ผู้กู้ และผู้ถูกกู้ได้รับประโยชน์ด้วยกัน ผ่านสถาบันการเงินระหว่างประเทศ

ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ 2.Economic growth ช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศลดน้อยลง เพราะการลงทุนระหว่างประเทศ ทำให้เกิดการสร้างงาน ตลาดแรงงานในแต่ละประเทศขยายตัว ส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโต

ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ 3.Financial Service การเข้าถึงการบริการทางการเงินได้อย่างรวดเร็ว เพิ่มโอกาสการพัฒนา การแข่งขัน เสริมสภาพคล่อง ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้หลายแหล่ง

สร้างบรรยากาศ และจูงใจการลงทุน 4.Policy Discipline ประเทศต้องรักษาระเบียบวินัยในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ การเงิน และการคลังของประเทศ สร้างบรรยากาศ และจูงใจการลงทุน ปฎิรูป เช่น ภาษี กฎหมาย เพื่อเกิดความทันสมัย

ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ 5.Allocate Efficiency เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรระหว่างประเทศ เช่น ประเทศที่มีเงินทุนน้อย สามารถได้โอกาสการลงทุนจากประเทศที่มีเงินลงทุนมาก

ท้าทายแนวคิดการเปิดเสรีการเงิน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามทฤษฎี การลงทุนข้ามชาติ Foreign Direct Investment (FDI) และบรรษัทข้ามชาติ (MNCs) การกระจุกตัวของการลงทุนของ FDI การลดลงของFDI ในภาคการลงทุนระยะยาว

ท้าทายแนวคิดการเปิดเสรีการเงิน สร้างความไร้เสถียรภาพ และความผันผวน การเคลื่อนย้ายของทุนอย่างเสรีมีจำกัด การต่อรองของแรงงานลดลง

Class Activity Global Crisis vs Thai Crisis?