กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
Research Mapping.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
การบริหารจัดการท้องถิ่น
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ ฯพณฯ พงศ์เทพ เทพ.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่น 2. พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น 3. ผลกระทบ 4. ปรับกระบวนทัศน์การปกครองส่วนท้องถิ่น - บทบาทผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น การเมือง ท้องถิ่น - อบจ. - เทศบาล - อบต. สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี

พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น สังคมชนบท สังคมชนบท กึ่งเมือง สังคมเมือง

สังคม เศรษฐกิจ ผลกระทบ - เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ - มีการเรียกร้องสูงขึ้น - ครอบครัวเดี่ยว - อาชญกรรมสูงขึ้น ฯลฯ สังคม - มีรายได้สูงขึ้น - ค่าครองชีพสูงขึ้น - โครงสร้างอาชีพเปลี่ยนจากเกษตรกรรม เป็นพาณิชยกรรม อุตสาหกรรมมากขึ้น - เกิดความต้องการแรงงาน เศรษฐกิจ

การเมือง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ผลกระทบ การเมือง - พลังประชาชน - เกิดปัญหาระบบนิเวศน์วิทยา - เกิดมลพิษทั้งเรื่องขยะ และสิ่งปฏิกูล น้ำเน่าเสีย มลพิษ ทางอากาศ ฝุ่นละออง สิ่งแวดล้อม - มีวัฒนธรรมต่างถิ่นเข้ามา ทำให้สูญเสียวัฒนธรรม ดั้งเดิม วัฒนธรรม

บทบาทผู้นำองค์กรปกครองท้องถิ่น มีวิสัยทัศน์ ใช้ยุทธศาสตร์นำการพัฒนา ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร มีภาวะผู้นำ สร้างแรงจูงใจ ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนต่อการพัฒนาท้องถิ่น มีความสามารถในการแสวงหาทรัพยากรเพื่อการพัฒนา บริหารงานด้วยความโปร่งใส

นโยบายของกระทรวงมหาดไทย กับ การบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันศุกร์ที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี

แนวทางการบริหารงานของ มท. ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น การสนับสนุนให้ อปท. ปลูกฝังค่านิยมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข ให้กับประชาชนในท้องถิ่น

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น การบริหารงานตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารและข้าราชการ อปท. ต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส ปรับระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพ มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน รับผิดชอบต่อชุมชน ยึดถือระเบียบและข้อกฎหมายเป็นหลัก

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น การส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชนในท้องถิ่นต้องสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนการทำงานการจัดบริการสาธารณะ และการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของท้องถิ่น

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ๔. การสนับสนุนการกระจายอำนาจ สู่ท้องถิ่น

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ และความเป็นอิสระของ อปท. ในการพึ่งพาตนเอง ตามความจำเป็นและเหมาะสม ตามศักยภาพของ อปท.

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น การส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุน ให้ชุมชน หมู่บ้าน จัดทำแผนชุมชน

แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้มีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ แผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด เพื่อให้สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการของประชาชน

นโยบายที่สำคัญ ของ กระทรวงมหาดไทย

๑. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับ การบำบัดรักษาให้กลับมา เป็นคนดีของสังคม โดยมีกลไกการติดตามช่วยเหลือ อย่างเป็นระบบ

ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนโครงการ To Be Number One

จัดโครงการบำบัดผู้เสพ โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก/เยาวชน ให้กลับตัวเป็นคนดีของครอบครัว และเป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม ผ่านโครงการ “ชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน”

งบประมาณที่ อปท. ได้รับการจัดสรร ในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ เป็นเงิน ๑,๖๔๔.๔๒ ล้านบาท โดยจัดสรรให้กับ อบต. และเทศบาล ทั่วประเทศ เป็นค่าใช้จ่าย สำหรับการฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และฝึกอบรมอาชีพ จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ คน เฉลี่ยคนละ ๓,๕๐๐ บาท อบต. ๕,๕๐๙ แห่ง แห่งละ ๓๐ คน เทศบาล ๒,๒๖๖ แห่ง แห่งละ ๕๐ คน

บูรณาการงานกับตำรวจและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนให้มีส่วนร่วม สายงานข่าว - ปกครอง กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน - ตำรวจ - สาธารณสุขตำบล - อปพร. - ประชาชน ชุดจับกุม - ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ - อสม.

๖.๓ ทุกส่วนราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จะต้องดำเนินการ และให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามคำสั่งนี้อย่างเต็มที่ โดยระดมความร่วมมือในทุก ๆ ด้านจาก อปท. โดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณเพื่อ การป้องกันยาเสพติด การบำบัดฟื้นฟู และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด อีกส่วนหนึ่งย

๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต ๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนกลับสู่จังหวัด ชายแดนภาคใต้

๓. การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

อปท. ต้องให้ความสำคัญในการจ่าย เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ/ผู้ป่วยเอดส์ อย่าให้มีกรณีการทุจริต หรือเกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน

๔. การส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน

เพื่อให้ประชาชนมีเงินทุนตั้งตัว มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดภาระหนี้สินให้พ้นระดับ ความยากจน โดยยึดตำบลเป็นศูนย์ ในการรวบรวมแหล่งเงินทุนจากทุกหมู่บ้าน

๕. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP

อปท. มีการจัดทำแผนพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพ และกำหนดเป้าหมายอย่างชัดเจน มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP จากระดับหมู่บ้าน เป็นระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และไปสู่ระดับสากล

๖. สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้าง อปท.

๗. การปรับปรุงบัญชีอัตราเงินเดือน ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น

นโยบาย ที่สำคัญ ของรัฐบาล

๑. ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ๒.๒ ล้านล้านบาท ๑. ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ๒.๒ ล้านล้านบาท

๒. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ

๓. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ๓. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒ ๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒. การประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนาให้ความรู้ เกี่ยวกับการเป็นประชาคมอาเซียน ๓. การเตรียมความพร้อมในด้านของ ภาษาต่างประเทศ ๔. การจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ ๕. การเตรียมตัวรับกระแสการลงทุน

๔. โครงการพัฒนาเมือง

๕. การเพิ่มรายได้ – ลดรายจ่ายของ อปท.

๖. การบูรณาการด้านแผนที่ และการทำ โซนนิ่งสินค้าเกษตร ๖. การบูรณาการด้านแผนที่ และการทำ โซนนิ่งสินค้าเกษตร

จบการบรรยาย