แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
Advertisements

สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ. นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO  mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กรมควบคุมโรค แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กรมควบคุมโรค ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค

ภารกิจหลัก ศูนย์กฎหมาย มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. ดำเนินการเกี่ยวกับงานพัฒนากฎหมายด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจและยกร่างกฎหมาย รวมถึงการศึกษา ตรวจสอบวิเคราะห์ เพื่อให้มีการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรม 3. การให้คำปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย การร่างสัญญาและบริหารสัญญา การดำเนินคดีอาญา แพ่ง ปกครอง และงานคดีอื่นที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรม 4. ประสานความร่วมมือ กำกับ ติดตาม ประเมินผลด้านกฎหมายกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง 5. ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมาย การดำเนินมาตรการทางปกครอง การกำหนดแนวทางในการบังคับใช้กฎหมาย การระงับข้อพิพาท และงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรม 6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

เป้าหมายการดำเนินงานปี 2559 1. มีกฎหมายซึ่งมีเนื้อหาที่ทันสมัยและสามารถนำมาเป็นเครื่องมือเพื่อจัดการกับปัญหาของโรคและภัยสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัย สุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนและสังคมส่วนรวม 2. การบังคับใช้กฎหมายมีความเข้มแข็งจริงจัง ต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ

1. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ แผนการดำเนินงานปี 2559 1. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ 3. การบังคับใช้กฎหมาย 2. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ โครงการจัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดทำหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่ โครงการจัดประชุมชี้แจงกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่ โครงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย โครงการจัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง โครงการประชุมชี้แจงและเสริมสร้างความรึความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสาระสำคัญของกฎหมายและอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง ศูนย์กฎหมาย โครงการจัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง โครงการออกปฏิบัติการตรวจเตือน/ตรวจจับและประชาสัมพันธ์กฎหมายควบคุมยาสูบ โครงการจัดอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่/ภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมายยาสูบ โครงการจัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามการบังคับใช้กฎหมายยาสูบ โครงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย

การติดตามประเมินผล รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาสในระบบ ESM นิเทศติดตามผลการดำเนินงานโดยศูนย์กฎหมายร่วมกับ สคร.

งบประมาณ 1. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ 2,760,000 กิจกรรม งบประมาณ 1. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ 2,760,000 2. การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ 2,300,000 3. การบังคับใช้กฎหมาย 1,600,000 รวม 6,660,000