การบริหารกำลังคนภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Advertisements

งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
ข้อเสนอ แนวทางการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
การแต่งตั้งข้าราชการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การจัดคนลงตำแหน่งตาม พรบ.ใหม่
(ก.พ. ที่ นร /ว 8 ลงวันที่ 28 เมษายน 2554)
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ระบบการกำหนดตำแหน่ง:เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
คุณอยู่ตรงไหน? และจะก้าวหน้าอย่างไร? (วันนี้ขอเฉลยเฉพาะความก้าวหน้า
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ทิศทางการสนับสนุนทรัพยากร บุคคล และการบริหารจัดการ.
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ร่างโครงสร้างชั้นงานและประเภทตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่น
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การบรรจุแต่งตั้ง ข้าราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก หรือคัดเลือก
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารกำลังคนภาครัฐ 1

กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน ลูกจ้างประจำ 13.06 % ข้าราชการ 61.67 % ลูกจ้างชั่วคราว 22.27 % กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน จำนวน 1.98 ล้านคนนี้ ประกอบด้วย ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน 1,221,262 คน (ร้อยละ 61.67) ลูกจ้างประจำ 258,600 คน (ร้อยละ 13.06) ลูกจ้างชั่วคราว 440,933 คน (ร้อยละ 22.27) และพนักงานราชการ 59,481 คน (ร้อยละ 3.00) พนักงานราชการ 3.00 % 2

ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน ปีงบประมาณ 2548 ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน ปีงบประมาณ 2548 จำแนกตามส่วนราชการ สนง.ตำรวจฯ 17.59 % ศึกษาธิการ 41.68 % สาธารณสุข 13.72 % มหาดไทย 3.45 % เทศบาล 3.29 % ส่วนตำบล 3.27 % เกษตรฯ 2.98 % กทม. 2.64 % คลัง 2.55 % ยุติธรรม 1.36 % คมนาคม 1.21 % อื่นๆ 6.26 % ข้าราชการในฝ่ายพลเรือนส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ 41.68 ( 509,028 คน) ปฏิบัติงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รองลงมาร้อยละ 17.59 (214,872 คน) สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และร้อยละ 13.72 (167,568 คน) สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนที่เหลือกระจายอยู่ในสังกัดส่วนราชการต่าง ๆ โดยกระทรวงที่มีอัตรากำลังต่ำกว่าพันคน ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (878 คน) ทั้งนี้ ข้าราชการในฝ่ายพลเรือนเกือบครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 43.82 ปฏิบัติภารกิจในด้านการศึกษา โดยนอกจากกระทรวงศึกษาธิการแล้ว ยังมีการปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาในส่วนท้องถิ่นของ กทม. และเทศบาล อีกประมาณร้อยละ 2.14 ด้วย จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่างบประมาณด้านบุคลากรส่วนใหญ่ ได้ถูกใช้ไปในงานด้านการศึกษา งานดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และงานด้านสาธารณสุข (หน่วย : คน)

นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน การสร้างกำลังคนในราชการพลเรือนที่มีคุณภาพ มีสมดุลคุณภาพงาน คุณภาพชีวิต หลักการพัฒนาสมรรถนะ Competency หลักการบริหาร ผลงาน Performance หลักการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม Merit การกระจายอำนาจการบริหาร การปรับปรุงแก้ไข กฎหมาย ระเบียบข้าราชการพลเรือน

โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ระบบจำแนกตำแหน่ง (Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทน ระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 จัดโครงสร้างของตำแหน่งตามระดับมาตรฐานกลาง (Common Level) เป็น 11 ระดับ ระดับ 11 ปลัดกระทรวง / ผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ 10 อธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 รองอธิบดี / ผอ.สำนัก / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 8 ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน ระดับ 7 หัวหน้าฝ่าย งาน ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4

โครงสร้างตำแหน่งตาม พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2535 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 39 กำหนด ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญมี 3 ประเภท ได้แก่ ตำแหน่งประเภททั่วไป ตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ และตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงหรือบริหารระดับกลาง แนวคิดการจำแนกตำแหน่งตามความชำนาญเฉพาะทาง (Specialization) และกำหนดระดับ ตำแหน่งตามความยากและคุณภาพของงาน 6

แบ่งข้าราชการพลเรือน เป็น 3 ประเภท บริหารระดับสูง หรือ ระดับกลาง วิชาชีพ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ทั่วไป ระดับ 9 ขึ้นไป และเป็นหัวหน้า ส่วนราชการสูงกว่ากอง ระดับ 8 ขึ้นไป ปฏิบัติโดยผู้มีวุฒิปริญญาและ ระดับ 1 – 8 อื่น ๆ งานกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สิน มีองค์กรวิชาชีพรับรอง หรือ ระดับ 8 และเป็นหัวหน้า ส่วนราชการระดับกอง ภาครัฐขาดแคลนและ เป็น R&D ทางเทคโนโลยี่ หรือ เป็นงานกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน

ประเภทสายงานของตำแหน่งข้าราชการ สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 1 เจ้าหน้าที่.... ,ช่าง สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 2 เจ้าพนักงาน. ...,นายช่าง...,ชื่อเฉพาะ สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 3 นัก...., เจ้าหน้าที่......,ชื่อเฉพาะ สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 4 ชื่อเฉพาะ เช่น นายแพทย์ สายงานเดี่ยว 4,5,6,7,8 เจ้าหน้าที่บริหาร......

มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ หลักการและแนวทางในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ 1. ดำเนินการตามบทบัญญัติในร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2. รูปแบบมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ปรับปรุงจากมาตรฐานกำหนดตำแหน่งปัจจุบันประกอบแนวทางการจัดทำเอกสารสรุปลักษณะงาน (Role Profile) 3. ให้ส่วนราชการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติจริงของแต่ละส่วนราชการ

การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ) 4. ยุบเลิก/ยุบรวมสายงาน ให้เหลือเท่าที่จำเป็นเพื่อนำไปจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ โดยมีหลักการ ดังนี้ (1) การยุบเลิกสายงาน (1.1) ยุบเลิกสายงานที่ ก.พ. มิได้กำหนดตำแหน่งในส่วนราชการแล้ว และบทบาทภารกิจของส่วนราชการเปลี่ยนแปลงไปภายหลังการปฏิรูประบบราชการ ทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดตำแหน่งเหล่านี้อีกต่อไป (1.2) ยุบเลิกสายงานเจ้าหน้าที่บริหารงาน …. ซึ่งเป็นสายงานร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ....

การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ) (2) การยุบรวมสายงาน (2.1) ยุบรวมสายงานที่มีตำแหน่งเริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 เข้าด้วยกัน สำหรับสายงานที่มีลักษณะงานที่ปฏิบัติและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน (2.2) ยุบรวมสายงานที่มีตำแหน่งเริ่มต้นจากระดับ 3 เข้าด้วยกัน สำหรับสายงานที่มีลักษณะงานที่ปฏิบัติและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน * สรุปมาตรฐานกำหนดตำแหน่งปัจจุบัน 464 สายงาน เหลือ ประมาณ 230 สายงาน

การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ) ตัวอย่างการยุบเลิกสายงาน สายงานที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน จำนวน 464 สายงาน มีสายงานที่อาจยุบเลิกได้ประมาณ 104 สายงาน เช่น สายงานเจ้าหน้าที่ บริหารงาน …… จำนวน 56 สายงาน และสายงานอื่นๆ เช่น -สายงานการโทรคมนาคม -สายงานผดุงครรภ์สาธารณสุข -สายงานนักประชาสงเคราะห์ -สายงานการไปรษณียโทรเลข -สายงานเจ้าพนักงานพัฒนาชนบท เป็นต้น

การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ) 5. ปรับปรุงชื่อสายงานและชื่อตำแหน่งให้สื่อถึงประเภทตำแหน่งที่บัญญัติไว้ในร่าง พ.ร.บ.ฯ เช่น -ตำแหน่งประเภทวิชาการจะใช้คำนำหน้าว่า “นัก……………..” -ตำแหน่งประเภททั่วไปจะใช้คำนำหน้าว่า “เจ้าพนักงาน ……..” ยกเว้นชื่อสายงานและ ชื่อตำแหน่งที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น ตำแหน่ง “อาลักษณ์” ซึ่งเป็นตำแหน่งพิเศษเฉพาะที่ปฏิบัติเกี่ยวกับพระราชพิธี

การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ) * ส่วนแตกต่างที่สำคัญบางประการในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ 1. หน้าที่ความรับผิดชอบ ครอบคลุมและชัดเจนขึ้น -แยกด้านให้เห็นชัดเจน -รายละเอียดในแต่ละด้านระบุเป้าหมาย/ผลสัมฤทธิ์ที่จะได้รับ -ส่วนราชการร่วมเขียน 2. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง -คุณวุฒิการศึกษาเปิดกว้างให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา -เพิ่มระดับความรู้และทักษะให้ชัดเจน 3. กำหนดสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน

ความก้าวหน้าในอาชีพ ... ประเภทบริหาร ระดับสูง ฿ ระดับต้น ฿ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี อายุงาน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ระดับสูง ฿ อายุงาน บรรลุ KPIs 3 ปีติดต่อกัน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ระดับต้น ฿ ระดับทรงคุณวุฒิ ฿ ระดับทักษะพิเศษ ฿ ระดับเชี่ยวชาญ ฿ ระดับอาวุโส ฿ ประเภททั่วไป ชำนาญการพิเศษ ฿ ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญงาน ฿ ระดับชำนาญการ ฿ ระดับปฏิบัติงาน ฿ ระดับปฏิบัติการ ฿ ระดับสูง ฿ ระดับต้น ฿ อายุงาน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ประเภทอำนวยการ 16

อำนาจในการกำหนดตำแหน่ง ( มาตรา 47 -48) ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หลักเกณฑ์ อ.ก.พ. กระทรวง กำหนดตำแหน่งได้ตามหลักเกณฑ์ จำนวน ประเภท สายงาน ระดับ

หลักเกณฑ์การปรับตำแหน่งสูงขึ้นในตำแหน่ง ประเภททั่วไป และประเภทวิชาการ ตำแหน่งประเภททั่วไปและตำแหน่งประเภทวิชาการบางตำแหน่งที่กำหนดไว้หลายระดับ ตามบัญชีจัดตำแหน่ง 1) ตำแหน่งประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งระดับปฏิบัติงาน หรือชำนาญงาน 2) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ (1) ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ หรือชำนาญการ (2) ระดับปฏิบัติการ หรือชำนาญการ หรือ ชำนาญการพิเศษ

หลักเกณฑ์การปรับตำแหน่งสูงขึ้นในตำแหน่งประเภททั่วไป และประเภทวิชาการ หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในสาระสำคัญถึงขนาดต้องปรับ ปรับสูงขึ้นได้คราวละ 1 ระดับโดยผ่านเกณฑ์ประเมินค่างาน ต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ และตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ค่าใช้จ่ายด้านบุคคลภาครัฐไม่ให้เพิ่มสูงขึ้น อ.ก.พ. กรม กลั่นกรอง และเสนอ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณา

โครงสร้างตำแหน่งและชั้นงานของกระทรวง ฯ กระทรวงสาธารณสุข บริหาร สป. กรม บริหาร สำนัก/กอง บริหาร อำนวยการ หรือ เฉพาะด้าน สสจ. อำนวยการเฉพาะด้าน(แพทย์) สสอ. รพศ./รพท อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์) สอ. รพช. วิชาการ หรือทั่วไป วิชาการ

ปัญหา การรวบสายงาน สิทธิประโยชน์ ความก้าวหน้า

สิ่งที่กระทรวง/ สป.ต้องดำเนินการ การคงสิทธิที่เคยมียู่เดิม เช่นการปรับสายงานจากประเภททั่วไป เป็นวิชาการ สสอ. หรือ สอ. ที่มีวุฒิ ป. ตรี ความก้าวหน้า