ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ระบบข้อมูลและกิจกรรมของโครงการสืบสาน พระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
กลุ่มปลาดาว.
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระบบHomeward& Rehabilation center
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ครึ่งทางของโครงการสืบสานฯ หลักการ พระราชปณิธานสมเด็จย่า พระราชทาน เมื่อทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ พ.ศ.2537 “ให้ช่วยผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม ไม่ว่าเขาจะยาก.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สาขาโรคมะเร็ง.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สกลนครโมเดล.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 20-21 พ.ย.57 โรงแรม Diamond สุราษฎร์ธานี www.hpc4.go.th/director/region57/index.php?module=!&file=bseSurat.php

การศึกษาประสิทธิผลของ BSE The Russian Federation/WHO Study (Russia 1999 –(อายุ 40-64 ปี จำนวน 120,310 ราย ) The Shanghai Study 2002 (Randomized trial of BSE in Shanghai : Final Result- (30-66 ปี จำนวน266,064 ราย) The Philippine Study 2006 (35-64 ปี จำนวน 404,947 ราย) The Thailand Study 2013-2017 (โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม (30-70 ปี จำนวน 1.9 ล้าน)

การวิจารณ์ผลการศึกษา Russia & Shanghai Study Internal validity & Consistency – Fair External Validity – Poor ** External validity คือ ความสามารถในการขยายผล (Generalized) ไปใช้ภายนอกพื้นที่ที่ทำการศึกษา ** อ้างอิง Breast Cancer Screening PDQ® NCI Home page Philippine Study ทำ 1 ปีเลิก เนื่องจาก Loss F/U มาก ** อ้างอิง Regular SBE & CBE for early detection of Breast cancer (Review) - Cochrane

โครงการสืบสานพระราชปณิธานฯ วัตถุประสงค์ หญิงอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) อย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ร้อยละ 80 พบก้อนสงสัยผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ /ตรวจยืนยัน/รักษา ร้อยละ 100 ศึกษาประสิทธิผล BSE ผลลัพธ์ พบก้อนมะเร็งเล็กลง (3 ปี) ,Staging Early ขึ้น (5 ปี) อัตราตายลดลง (10 ปี)

สรุปแผนการดำเนินงาน 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72% 2556 ลงทะเบียน 1.9 ล้านคน 2557 BSE 1.4 ล้าน คน 9.6 ล้านครั้ง 8.7 ล้านครั้ง จริง (76%) 2558 ก่อน > 2 ซม. ลดลง 2560 Stage (1+2) เพิ่มขึ้น 2565 อัตราตาย ลดลง Preliminary Report 1.ก้อน > 2 ซ.ม. 63% 2.Stage1+2= 72% 3.พบมะเร็ง 586 ราย ปี 2556 = 23.5 ต่อแสน ของหญิง 30-70 ปีที่ลงทะเบียน 4.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อการพบก้อน > 2 ซม.=1.9 เท่า (Significant) 5.BSE ไม่สม่ำเสมอ เสี่ยงต่อ Late Staging .=1.4 เท่า (ไม่ significant)

จะ เปลี่ยน Missing Data ให้เป็นข้อมูลที่ใช้ได้อย่างไร

BSE ไม่สม่ำเสมอกับก้อนขนาดใหญ่ (> 2 ซม)

BSE ไม่สม่ำเสมอ กับ Late Stage

กิจกรรมในปีงบประมาณ 2558 การสร้างความตระหนักให้หญิง 30-70 ปี BSE ให้ถูกต้องสม่ำเสมอ หญิง 30-70 ปี มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง การยืนยันการ BSE ของหญิง 30-70 ปี โดย อสม เชี่ยวชาญ การบันทึกข้อมูลการยืนยันจาก อสม. โดย รพ.สต/รพช/PCU การจัดการ รายที่ตรวจแล้วสงสัยผิดปกติ ได้แก่ CBE ,Mobile U/S ,Mammogram + U/S ,Dx , Rx ,Refer การบันทึกเวชระเบียนให้ครบถ้วน (1) , Key ข้อมูลผ่าน web (เฉพะที่เป็น Center) Update ข้อมูล BSE (1) และ มะเร็งเต้านม (2)

การเตรียมในส่วนของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ข้อมูลหญิง 30-70 ปีในพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละสถานบริการ (a คน) แจกสมุดบันทึกการตรวจเต้านม (b คน) อบรม อสม.เชี่ยวชาญ กี่คน (c คน) มีและใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมตนเอง อย่างไร และที่มีคุณภาพและสม่ำเสมอ (d คน) พบก้อนที่สงสัยผิดปกติจำนวนเท่าไร (e คน) กลุ่มที่พบก้อนสงสัยผิดปกติได้รับการจัดการอย่างไร เป็นมะเร็งเต้านมจำนวนกี่ราย (f คน)

การเตรียมตัวก่อนที่ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน การ Complete และ Update ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านมจะพบประมาณ 23 ต่อแสนหญิง 30-70 ปี ซึ่งพบไม่มาก และต้องการข้อมูลเชิงคุณภาพ โดย กรอกข้อมูลใน แบบฟอร์ม BCI ให้ครบถ้วน และเก็บไว้ที่สถานบริการ (รพ.สต/รพช/รพศ/รพท ต้องมีแฟ้มเก็บแบบฟอร์ม BCI และต้องรู้ว่าเป็นมะเร็งเต้านมกี่ราย /รายใหม่กี่ราย/รายเก่ากี่ราย/ก้อน >2 cm กี่ราย ,Stage 0,1,2,3,4 กี่ราย / ตายกี่รายในแต่ละปี) เช็คข้อมูลในแฟ้มว่าตรงกับข้อมูลบน Web หรือไม่ ขอสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เก็บไว้หน้างาน แล้วแจกเล่มใหม่ให้ (ให้เตรียมพร้อมที่หน้างาน เพราะเดือนธันวาคม 2557 ทีมอาจารย์จุฬาจะมาประเมิน)

ข้อมูลจำเป็น (The must) เลข 13 หลัก เพื่อ check ว่าอยู่ใน cohort ที่ Register หรือไม่ Diagnosis เป็น breast cancer แบบใด วันที่ที่ Confirm เป็นมะเร็งเต้านมเมื่อไหร่ ขนาดก้อนวัดจาก U/S ,Mammogram /Biopsy , Staging วันที่ตาย (กรณีที่เสียชีวิต)

แพทย์แผนกศัลยกรรม วินิจฉัย ,staging, และผ่าตัด และ Chemo ส่วน Radiation ส่งศูนย์มะเร็งสุราษฎร์

ศูนย์มะเร็ง จะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งทุกชนิด โดยโปรแกรมของ รพ.สามารถดึงข้อมูลมะเร็งและผล Patho

เวชกรรมสังคมจะนำข้อมูลที่ได้ บันทึกใน PCI และ Key เข้าเครื่อง โดยประสานงานกับ สสจ.อย่างใกล้ชิด

สรุปเกี่ยวกับเรื่องระบบข้อมูล การดูแลหญิงในพื้นที่ ให้ดูแลโดยไม่ต้องสนใจอยู่ใน Cohort หรือไม่ โดยให้ดูแลทุกคน จะไม่มีการ Register ใหม่ โดยหญิงอายุ 30-70 ปีที่ Register จำนวน 1.9 ล้านคน มากพอแล้ว กระทรวงมีนโยบายจะไม่เพิ่มการบันทึกที่เหนือเหนือ 43 แฟ้ม เพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ สถานบริกร โดยเฉพาะ รพ.สต.ที่มีงานมาก เจ้าหน้าที่น้อย ทางโครงการจะทำเรื่องเสนอทาง สนย.เพื่อพิจารณาอยู่

สรุปเกี่ยวกับเรื่องระบบข้อมูล (ต่อ) จังหวัดจันทบุรี ใช้ สสจ.เป็น Center (Manager ระดับจังหวัด) ในการแปลงข้อมูล Cancer Register ไปสู่ BCI และ Key ข้อมูลผ่าน Web และจะ Print แบบฟอร์ม BCI เพื่อเก็บรวบรวมในระดับจังหวัด Manager ระดับจังหวัด จะ share ข้อมูลไปยัง CUP (Manager ระดับอำเภอ) เพื่อ Print แบบฟอร์ม BCI ที่ Share มา เก็บรวบรวมไว้ระดับอำเภอ เพื่อแจ้งและ Share ให้กับ รพ.สต. รพ.สต./รพช. Print แบบฟอร์ม BCI ที่ Share มาเก็บไว้ในที่ รพ.สต./รพช.และทำการประเมินทักษะการ BSE ว่าน่าจะ BSE แบบมีคุณภาพและสม่ำเสมอหรือไม่