¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดิน(Soil).
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ดาวอังคาร (Mars).
Laboratory in Physical Chemistry II
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 5 Colligative property
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
สารกัดกร่อน.
พญ. วนัสริน ไมตรีมิตร 24 มิ.ย. 57
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
sensION 2 pH/ISE Meter Calibrate and Maintenance
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
สารประกอบ.
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Phosphorus and Phosphate
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
สังกะสี แคดเมียม.
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
การออกแบบการเรียนรู้
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
อาหารปลอดภัยด้านประมง
วิทยาศาสตร์ Next.
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
เบส (Base) • สารที่ทําปฏิกริ ิยากบั กรดแล้วได้เกลอื • มีรสฝาด หรือ ขม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย สารละลายกรด - เบส สารละลายกรด - เบส ¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ โดย... โดย นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย

สารละลายกรดและสารละลายเบส แบ่งตามการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส น้ำเงิน แดง ไม่เปลี่ยนสี แดง น้ำเงิน กรด กลาง เบส

สารละลายกรดและสารละลายเบส * มีรสเปรี้ยว มีฤทธิ์กัด * เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง * ค่า pH น้อยกว่า 7 * มี H3O+ อยู่ในสารละลาย * ทำปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ส H2 * ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนตหรือสารประกอบ ไฮโดรเจนคาร์บอเนตได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) * ทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำ

สารละลายกรดและสารละลายเบส สารละลายที่เป็นกลาง  ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส  ค่า pH เท่ากับ 7  ตัวอย่างเช่น C2H5OH เอทานอล C6H12O6 สารละลายของน้ำตาลทราย

สารละลายกรดและสารละลายเบส มีรสฝาดขม ลื่นมือคล้ายสบู่  เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน  ค่า pH มากกว่า 7  มี OH - อยู่ในสารละลาย  ไม่ทำปฏิกิริยากับโลหะ  ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียมได้ก๊าซแอมโมเนีย(NH3)  ทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำ

pH ของสารละลาย ความหมายของ pH วิธีการวัด pH ของสารละลาย กระดาษลิตมัส พีเอชมิเตอร์ ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์

pH ของสารละลาย ความหมายของ pH pH คือ ช่วงของตัวเลขที่บอกความเป็นกรด-เบส คือ pH 1-6 เป็นกรด, 7 เป็นกลาง และ 8-14 เป็นเบส pH = - log [H+] pOH = - log [OH-] pH + pOH = 14

กรด เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย กระดาษลิตมัส บอกได้ว่าสารละลายนั้นเป็นกรดหรือเบส กรด เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง เบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน

pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย พีเอชมิเตอร์ (pH meter) สามารถวัด pH ของ สารละลายในช่วง pH 0 - 14

pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ คือ อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีได้ ทุกช่วง pH เกิดจากการนำอินดิเคเตอร์หลายๆ ชนิดมา รวมกัน

สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวัน มีหลายชนิด ทั้งที่เป็นอาหาร เครื่องใช้และสารในสิ่งแวดล้อม รวมทั้งของเหลวในสิ่งมีชีวิต

สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต หินงอกหินย้อย สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวัน ความเป็นกรด - เบส ในด้านการเกษตร ฝนกรด

สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต ด้านการเกษตร ใช้ปูนขาวเติมลงไปในดิน เพื่อลดความเป็นกรดของดิน

สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต หินงอกและหินย้อย เกิดจากกรดทำ ปฏิกิริยากับหินปูนทำให้เกิดการกร่อน ของหินปูน ดังสมการ 2H3O+(aq) + CaCO3 Ca2+(aq) + 3H2O(l) + CO2(g) เมื่อน้ำฝนไหลผ่านตามเพดานถ้ำจะ ละลายแคลเซียมคาร์บอเนตไปด้วย

สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต ฝนกรด หมายถึงน้ำฝนที่มีค่าความเป็น กรด-เบสต่ำกว่าระดับ 5.6 กรดในน้ำฝน เกิดจากการละลายน้ำของก๊าซ CO2 SO2 NO2 NO ที่มีอยู่ในบรรยากาศ ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุ ษย์

คุณต้องการออกจากบทเรียนเรื่องกรด - เบส ไม่ใช่ ใช่