ครู สุนิสา เมืองมาน้อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
Chapter 2 : Character and Fonts
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
รูปร่างและรูปทรง.
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
องค์ประกอบ Graphic.
การสร้างงานกราฟิก.
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
CONTRAST- EMPHASIS.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่25 เทคนิคการนำเสนองานด้วย Power Point
บทนำ บทที่ 1.
การออกแบบสื่อสำหรับการนำเสนอ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Mind Mapping.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เทคนิคการนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Background / Story Board / Character
การสอนแบบแผนที่ความคิด (Mind Map)
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
เทคนิคการถ่ายภาพ.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครู สุนิสา เมืองมาน้อย การจัดองค์ประกอบภาพ ครู สุนิสา เมืองมาน้อย

การจัดองค์ประกอบภาพ การจัดองค์ประกอบภาพที่มี วัตถุสิ่งของครบถ้วนสมบูรณ์ สื่อความหมายถึงผู้รับได้ ถูกต้องตรงกับเจตนาของผู้สื่อ

การจัดองค์ประกอบภาพอยู่ 10 ลักษณะ 1.รูปทรง (Form) 2.มิติ รูปร่างลักษณะ 3.ความสมดุลที่เท่ากัน 4. ความสมดุลที่ไม่เท่ากัน 5.ฉากหน้า 6. ฉากหลัง 7.กฏสามส่วน 8 .เส้นนำสายตา 9.เน้นด้วยกรอบภาพ 10 .เน้นรูปแบบซ้ำซ้อน

1.รูปทรง มีการจัดวางโครงสร้างให้ได้รูปทรงที่สวยงาม สิ่งนั้นประกอบด้วย คน วัตถุ สิ่งของ จัดวางให้เกิดเป็นรูปทรงต่างๆ เช่น รูปทรง สามเหลี่ยม ทรงกลม รูปทรงตัวที(T) หรือตัวเอส (S) ให้ความรู้สึก สง่างาม มั่นคง

ตัวอย่างรูปทรง

2.มิติ รูปร่างลักษณะ ตรงข้ามกับรูปทรง เน้นให้เห็นเป็นภาพ 2 มิติ คือ ความกว้างกับความยาว ไม่ให้เห็นรายละเอียดของภาพ หรือที่เรียกว่าภาพเงาดำ เป็นภาพที่ดูแปลกตา น่าสนใจ ลึกลับให้อารมณ์และสร้างจินตนาการ ในการในการดูภาพได้ดี นิยมถ่ายภาพในลักษณะย้อนแสง

ตัวอย่างมิติ รูปร่างลักษณะ

3.ความสมดุลที่เท่ากัน เป็นการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ภาพดูนิ่ง สง่างาม น่าศรัทธา เน้นการให้น้ำหนักรูป รูปทรงซ้ายขวาเท่ากัน ดูธรรมดา ไม่สะดุดตาเท่าใดนัก แต่ก็มีเสน่ห์และความงามในตัว

ตัวอย่างความสมดุลที่เท่ากัน

3.ความสมดุลที่ไม่เท่ากัน วัตถุทั้งสองข้าง มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน แต่สมดุลด้วยปัจจัยต่าง ๆ กัน เช่น สี รูปทรง ท่าทางฉากหน้า ฉากหลัง ฯลฯ ภาพดูน่าสนใจกว่าแบบสมดุลที่เท่ากัน แต่ความรู้สึกที่มั่นคงจะ น้อยกว่า

ตัวอย่างความสมดุลที่ไม่เท่ากัน

5.ฉากหน้า เรามักใช้ฉากหน้าเป็นตัวช่วยให้เกิดระยะ ใกล้ ไกล หรือมีมิติขึ้น ทำให้ภาพดูน่าสนใจ บางครั้งอาจใช้กิ่งไม้ วัตถุ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกล้องมาบังเพื่อช่วยเน้นจุดสนใจ ดูเด่นขึ้น และไม่ให้ภาพมีช่องว่างเกินไป

ตัวอย่างฉากหน้า

6.ฉากหลัง พื้นหลังของภาพก็มีความสำคัญหากเลือกที่น่าสนใจ กลมกลืน หรือช่วยให้สิ่งที่ต้องการเน้นเด่นขึ้นมา ควรเลือกฉากหลังที่กลมกลืน ไม่ทำให้จุดเด่นของภาพด้อยลง หรือมารบกวนทำให้ภาพนั้นขาดความงามไป

ตัวอย่างฉากหลัง

7.กฏสามส่วน เป็นการจัดภาพที่นิยมมากที่สุด ภาพดูมีชีวิตชีวา ไม่จืดชืด การจัดภาพโดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ทั้งแนวตั้งและแนวนอน การวางจุดสนใจของภาพจะเลือกวางใกล้ ๆ หรือ ตรงจุด 4 จุดนี้จุดใดจุด หนึ่ง โดยหันหน้าของวัตถุไปในทิศทางที่มีพื้นที่ว่างมากกว่า ทำให้ภาพดูเด่น ไม่อึดอัด ไม่แน่น หรือหลวมจนเกินไป

ตัวอย่างกฏสามส่วน

8.เส้นนำสายตา เป็นการจัดภาพที่ใช้เส้นที่เกิดจากวัตถุ หรือสิ่ง อื่น ๆ ที่มีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกัน เรียงตัวกันเป็นทิศทางไปสู่จุดสนใจ ช่วยให้วัตถุที่ต้องการเน้นมีความ เด่นชัดและน่าสนใจยิ่งขึ้น

ตัวอย่างเส้นนำสายตา

9.เน้นด้วยกรอบภาพ การจัดให้ฉากหน้าหรือส่วนประกอบอื่นล้อมกรอบจุดเด่น เพื่อลดพื้นที่ว่าง ทำให้ภาพกระชับ น่าสนใจ

ตัวอย่างเส้นนำสายตา

9.เน้นรูปแบบซ้ำซ้อน เป็นการจัดภาพที่มีรูปร่าง ลักษณะ ที่คล้าย ๆ กันวางเป็นกลุ่มทำให้ภาพดูสนุก สดชื่น และมีเสน่ห์แปลกตา

ตัวอย่างเส้นนำสายตา

ภาระงานในชั่วโมง จับคู่กับเพื่อน (ใช้คู่เดิมจากชั่วโมงที่แล้ว) จับฉลากเพื่อรับหัวข้องาน (1 คู่จะได้รับ 2 หัวข้อ) เข้าเครือข่ายการเรียนรู้ ตอบประเด็นสัปดาห์ที่ 4 นักเรียนชั้น ม. 5/….สืบค้นรูปภาพ ชื่อ.........นามสกุล.....เลขที่ คู่กับ ชื่อ........นามสกุล........เลขที่ ชื่อภาพ ภาพ (เมื่อเพื่อนโพสตอบเรียบร้อยแล้ว อีกคนที่คู่กันไปตอบใต้โพส เพื่อนเพื่อยืนยันว่าเราช่วยเพื่อนทำ) นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้จาก ใบความรู้ที่ 4 การจัดองค์ประกอบภาพ ใส่สมุดไม่น้อยกว่า 7 บรรทัดส่งท้ายชั่วโมง