การจ้างแรงงานงานข้ามชาติตาม MOU ไทย-ลาว : บทเรียนเพื่อก้าวสู่ AEC ผศ. พฤกษ์ เถาถวิล สาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประเด็นที่จะนำเสนอ 1 ความสำคัญของ MOU 2 อุปสรรคที่ประเทศต้นทางของแรงงาน 3 อุปสรรคที่ประเทศปลายทางของแรงงาน 4 บทเรียนเพื่อก้าวสู่ AEC
1. ความสำคัญของ MOU - เกิดขึ้น จัดระเบียบการจ้างงานตามกฎหมาย - การปรับตัวทางนโยบาย - ขั้นตอนมาก เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจ ขาดเครื่องมือ แรงงานไม่เข้าใจ ถูกเอาเปรียบ VASUPRASAT (2008), สมานและคณะ (2553)
2.อุปสรรคที่ประเทศต้นทางของแรงงาน (สปป.ลาว ) มิติแนวคิดของรัฐ มิติของตัวแรงงาน คำนึงถึงความสะดวก ประหยัด ยืดหยุ่น มิติการเมืองการปกครอง
หมวดค่าใช้จ่ายรายการค่าใช้จ่าย / คน จำนวนเงิน ( บาท ) ร้อยละของ ค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียม 1. หนังสือเดินทาง 2, ตรวจโรค บัตรแรงงานลาวที่ไปทำงานต่างประเทศ (work permit card for lao workers abroad) วีซ่าเข้าประเทศไทยเพื่อการไปทำงาน 2, ค่าเดินของแรงงานทางในลาว ( ในการไปทำเอกสาร ต่างๆ ) ค่าดำเนินการพิธีการตรวจตราคนเข้า - ออกเมือง และ ภาษีอากรที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองลาว 100 ค่าดำเนินการ 7. ค่าตอบแทนพนักงาน เบี้ยเลี้ยงลงพื้นที่ ที่พัก น้ำมัน เชื้อเพลิง ค่าตอบแทนนายหน้าท้องถิ่น ( ถ้ามี ) 2, ค่าฝึกอบรม ค่าดูแลแรงงานตลอดสัญญา (2 ปี )*2, ค่าการตลาดในประเทศไทย *1,000 ค่าใช้จ่ายพิเศษ 11. ค่าใช้จ่าย “ พิเศษ ” แก่เจ้าหน้าที่ เพื่อเร่งรัดการ ดำเนินการ ทำบัตรประชาชน หนังสือเดินทาง และติดตาม เร่งรัดเอกสารกับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานระดับต่างๆ 4, รวม 14,
ค่าใช้จ่าย “พิเศษ” มีสัดส่วนเกือบร้อยละ 30 ของต้นทุน ทั้งหมด บริษัทมีกำไร (23,000 ลบด้วย 14,000 ) = 9,000 บาท/หัว
3.อุปสรรคในประเทศปลายทางของแรงงาน (ไทย) ปัญหานโยบายไม่คงเส้นคงวา และไร้ประสิทธิภาพบังคับใช้กฎหมาย เงื่อนไขทางสังคม - มิติเศรษฐกิจ - มิติการเมือง
ผลจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจการเมืองไทย ความอิหลักอิเหลื่อในการดำเนินนโยบาย Demand and supply จำนวนมาก ก่อให้เกิดตลาดมืด เกิดเครือข่ายนายหน้า เข้า เกาะเกี่ยวกับรัฐ เจ้าหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของขบวนการผิดกฎหมาย การใช้นโยบาย ไม่คงเส้นคงวา การบังคับใช้กฎหมายขาดประสิทธิภาพ กระทบต่อการจ้างงานตาม MOU กลายเป็นวงจรปัญหา
4. บทเรียนเพื่อก้าวสู่ AEC AEC คือ “สถาบัน” (institution) ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ สถาบันฯที่มั่นคงมีเงื่อนไข 3 ประการคือ 1 การยึดมั่นในแนวทางที่ตกลงร่วมกัน 2 ความเสมอภาคและไว้วางใจระหว่างประเทศ และ 3 ความเชื่อถือได้ว่าจะยึดระบบและหลักเกณฑ์อย่างคงเส้นคงวา
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เชื่อว่า ความสัมพันธ์ที่มีจุดมุ่งหมายสร้างสรรค์ เป็นพลังของความร่วมมือเพื่อความเปลี่ยนแปลง ที่ เข้าไปช่วยให้ประเทศภาคี ให้สามารถพัฒนาตนไป ในทางที่ดีได้
ธรรมาภิบาลและประชาธิปไตย จะทำให้ เศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ AEC ต้องการธรรมาภิบาลและ ประชาธิปไตย ขอบคุณครับที่ให้ความสนใจ