คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัย เรื่องการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเป็นวิชาหนึ่งที่จัดอยู่ในวิชาปรับพื้นฐานที่จัดอยู่ในรายวิชาบังคับของหมวดวิชาชีพพื้นฐานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ในการจัดการเรียนตามแบบฝึกหัดและใบงานที่กำหนดให้ นักเรียนที่เข้ามาเรียนในวิชานี้ส่วนใหญ่จะมีความแตกต่างกัน ทั้งเรื่องระดับความรู้ ระดับความสามารถ และทักษะในงานช่าง โดยที่นักศึกษาที่เข้ามาเรียนในหมวดวิชาชีพนี้จะได้รับการฝึกทักษะ การสร้างความมีระเบียบ มีวินัย การตรงต่อเวลา ซึ่งนักศึกษาที่เข้ามาเรียนจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน และทักษะกับงานในสาขาของตนเองได้

ปัญหาการวิจัย(ต่อ) ผู้วินิจฉัยจึงได้มีความสนใจที่จะศึกษาความบกพร่องที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขางาน ไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ชั้นปีที่ 1 จำนวน 160 คน ที่เรียนวิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 การนำแบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมอย่างหนึ่งที่จะได้มาขึ้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงข้อจุดบกพร่อง จุดที่แก้ปัญหาหรืออุปสรรคในการเรียนเรื่องหนึ่ง ๆ ของนักเรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อที่จะหาทางแก้ไขให้ได้ตรงจุดยิ่งขึ้น อันจะทำให้สามารถช่วยเหลือนักเรียนนักเรียนที่มีปัญหาหรืออุปสรรคให้บรรลุในการเรียน หรือเกิดการเรียนรู้ได้เหมือนคนอื่นๆ

วัตถุประสงค์ เพื่อหาคุณภาพขอบแบบทดสอบวินิจฉัยในด้าน ค่าความเที่ยงตรง ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่นในแบบทดสอบ เพื่อหาข้อบกพร่องในการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น นักศึกษาสาขางาน ไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ชั้นปีที่ 1

กรอบแนวคิดในงานวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียน การสอนโดยมีแบบฝึกหัด ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชางานเขียนแบบ นักศึกษาช่างไฟฟ้า กำลัง จำนวน 160 คน

นักศึกษาจำนวน 16 คน เทคนิคพื้นฐาน จำนวน นร. ที่ทำได้ เปอร์เซ็นต์ ตารางวิเคราะห์ข้อมูลพบว่านักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชางานเขียนแบบ สูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาจำนวน 16 คน เทคนิคพื้นฐาน จำนวน นร. ที่ทำได้ เปอร์เซ็นต์ ก่อนการเรียนการสอน 48 30 % หลังการเรียนการสอน 130 81%

สรุปผลการวิจัย คู่มือการใช้แบบแบบทดสอบวินิจฉัย เรื่องการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สร้างขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการนำแบบทดสอบวินิจฉัยไปใช้กับผู้ที่สนใจ ซึ่งคู่มือการใช้แบบทดสอบวินิจฉัยจะประกอบด้วย ความมุ่งหมายของแบบทดสอบ โครงสร้างของแบบทดสอบ ลักษณะของแบบทดสอบ การสร้างแบบทดสอบ คุณภาพของแบบทดสอบ เวลาที่ใช้ในการดำเนินการสอบ วิธีดำเนินการสอบ การตรวจให้คะแนนและการวินิจฉัยข้อบกพร่อง

ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ทราบข้อบกพร่อง และสาเหตุของการบกพร่องในการอ่านภาพฉายไอโซเมตริก วิชางานเขียนแบบ เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำไปแก้ไข หรือซ่อมเสริมข้อบกพร่องได้ตรงจุด และสามารถพัฒนาทักษะการเขียนแบบผู้เรียนในระดับสูงได้ เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบในการเรียนปรับพื้นฐานวิชาอื่นๆ ต่อไป