การจัดองค์ประกอบของภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
Chapter 2 : Character and Fonts
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
รายงาน เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เรื่อง เข็มทิศ จัดทำโดย
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การสร้างงานกราฟิก.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
CONTRAST- EMPHASIS.
บทนำ บทที่ 1.
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
การออกแบบสื่อสำหรับการนำเสนอ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
การจัดองค์ประกอบภาพ.
Mind map อ.วรพจน์ พรหมจักร.
Mind Mapping.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
เทคนิคการนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Background / Story Board / Character
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Habitat Winter No. 14 “ สีสันสร้างอารมณ์ ”. Habitat Winter No. 14 การทาสีในแนวขวาง ให้ พื้นที่สีจากด้านล่างมาก ที่สุดไปน้อยที่สุด เพิ่ม ความสนุกสนานให้กับการ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
การพูด.
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดองค์ประกอบของภาพ

การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition) นอกการได้ภาพที่ตรงตามความต้องการ มีคุณค่า มีความงามทางด้านศิลปะ แล้วการจัดองค์ประกอบภาพ ก็เป็นสิ่งที่สำคัญ ที่จะทำให้ภาพมีคุณค่าขึ้น ดังนั้นเราจึงมาศึกษาการจัดองค์ประกอบภาพ ซึ่งในบทนี้ จะกล่าวถึงการจัดองค์ประกอบภาพอยู่ 10 ลักษณะ  คือ http://www.photohutgroup.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=250901&Ntype=5

รูปทรง  เป็นการจัดองค์ประกอบภาพที่ให้ความรู้สึก สง่างาม มั่นคง เหมาะสำหรับภาพ ทางสถาปัตยกรรม การถ่ายภาพวัตถุ หรือภาพสิ่งต่างๆ เน้นให้เห็นความกว้าง ความสูง ความลึก โดยให้เห็นทั้งด้านหน้าและด้านข้าง และความลึก หรือที่เรียกว่าให้เห็น Perspective หรือภาพ 3 มิติ 1

รูปร่างลักษณะ มีการจัดองค์ประกอบภาพตรงข้ามกับรูปทรง คือ เน้นให้เห็นเป็นภาพ 2 มิติ คือ ความกว้างกับความยาว ไม่ให้เห็นรายละเอียดของภาพ หรือที่เรียกว่าภาพเงาดำ ภาพลักษณะนี้ เป็นภาพที่ดูแปลกตา น่าสนใจ ลึกลับ ให้อารมณ์และสร้างจินตนาการ ในการในการดูภาพได้ดี          ข้อควรระวังในการวางภาพลักษณะนี้คือ วัตถุต้องมีความเรียบง่าย เด่นชัด สื่อความหมาย ได้ชัดเจน ฉากหลังต้องไม่มารบกวนทำให้ภาพนั้น หมดความงามไป 2

ความสมดุล ที่เท่ากัน (Symmetrical balance)   เป็นการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ภาพดูนิ่ง สง่างาม น่าศรัทธา คล้ายกับแบบเน้นด้วยรูปทรง แต่จะแสดงออกถึงความสมดุล นิ่ง ปลอดภัย ภาพลักษณะนี้อาจจะดูธรรมดา ไม่สะดุดตาเท่าใดนัก แต่ก็มีเสน่ห์และความงามในตัว 3

ความสมดุล ที่ไม่เท่ากัน ที่ไม่เท่ากัน  Asymmetrical balance การจัดภาพแบบนี้ จะให้ความรู้สึกที่สมดุลเช่นเดียวกับแบบที่แล้ว แต่จะต่างกันอยู่ที่ วัตถุทั้งสองข้าง มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน แต่จะสมดุลได้ด้วยปัจจัยต่างๆ กัน เช่น สี  รูปทรง ท่าทาง  ฉากหน้า  ฉากหลัง ฯลฯ ภาพดูน่าสนในกว่าแบบสมดุลที่เท่ากัน แต่ความรู้สึกที่มั่นคงจะ น้อยกว่า แต่แปลกตาดี 4

ฉากหน้า  ส่วนใหญ่จะใช้ในเป็นภาพทิวทัศน์ หรือภาพอื่นๆ ใช้ฉากหน้าเป็นตัวช่วยให้เกิดระยะ ใกล้ กลาง ไกล หรือมีมิติขึ้น ทำให้ภาพน่าสนใจอาจใช้กิ่งไม้ วัตถุ หรือ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้การมองเห็น เพื่อช่วยเน้นให้จุดสนใจที่ต้องการเน้น มีความเด่นยิ่งขึ้น และไม่ให้ภาพมีช่องว่างเกินไป ข้อควรระวัง  อย่าให้ฉากหน้าเด่นจนแย่งความสนใจจากสิ่งที่ต้องการเน้น จะทำให้ภาพลดความงามลง 5

ฉากหลัง  พื้นหลังของภาพก็มีความสำคัญ หากเลือกที่น่าสนใจ กลมกลืน หรือช่วยให้สิ่งที่ต้องการ เน้นเด่นขึ้นมา ควรเลือกฉากหลังที่กลมกลืน ไม่ทำให้จุดเด่นของภาพด้อยลง หรือมารบกวนทำให้ภาพนั้นขาดความงามไป 6

กฏสามส่วน  เป็นการจัดภาพที่นิยมมากที่สุด ภาพดูมีชีวิตชีวา ไม่จืดชืด การจัดภาพโดยใช้เส้นตรง 4 เส้นตัดกันในแนวตั้งและแนวนอน จะเกิดจุดตัด 4 จุด (ดังภาพ) หรือแบ่งเป็น 3 ส่วน ทั้งแนวตั้งและแนวนอน  การวางจุดสนใจของภาพ จะเลือก วางใกล้ ๆ หรือ ตรงจุด 4 จุดนี้ จุดใดจุด  หนึ่ง โดยหันหน้าของวัตถุไปในทิศทางที่มีพื้นที่ว่างมากกว่า ทำให้ภาพดูเด่น ไม่อึดอัด ไม่แน่น หรือหลวมจนเกินไป 7

เส้นนำสายตา เป็นการจัดภาพที่ใช้เส้นที่เกิดจากวัตถุ หรือสิ่ง อื่น ๆ ที่มีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกัน เรียงตัวกันเป็นทิศทางไปสู่จุดสนใจ ช่วยให้วัตถุที่ต้องการเน้นมีความ เด่นชัด และน่าสนใจยิ่งขึ้น 8

เน้นด้วย กรอบภาพ  แม้ว่าภาพจะสามารถนำมาประดับ ตกแต่งด้วยกรอบภาพอยู่แล้ว แต่การจัดให้ฉากหน้าหรือส่วนประกอบอื่นล้อมกรอบจุดเด่น เพื่อลดพื้นที่ว่าง หรือทำให้สายตาพุ่งสู่จุดสนใจนั้น ทำให้ภาพกระชับ น่าสนใจ 9

เน้นรูปแบบซ้ำซ้อน หรือแบบ Pattren เน้นรูปแบบซ้ำซ้อน   หรือแบบ Pattren เป็นการจัดภาพที่มีรูปร่าง ลักษณะ ที่คล้ายๆ กันวางเป็นกลุ่มทำให้ภาพดูสนุก สดชื่น และ มีเสน่ห์แปลกตา 10

Thank You !