วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ด.ญ.อัญชลีพร สุขสวัสดิ์
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
“ โครงงานแด่น้องผู้ด้อยโอกาส ”
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมิน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
กองทุนหลักประกัน สุขภาพ ตำบลภูหลวง ปี 2556
วัดพระแก้ว.
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
บันทึกประวัติศาสตร์ เรื่อง....การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
นางสาวสุทธินันท์ เมืองมูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพะเยาเขต 1
เด็กหญิงชลิดา ทิฐธรรมงามดี
พัฒนาการพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
หัวข้อรายงาน บทบาทหน้าที่ของปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำตำบลในเขตพื้นที่อำเภอยะรัง ณ ที่ว่าการอำเภอยะรัง อ.ยะรัง จ. ปัตตานี
สรุปการปฎิบัติสหกิจศึกษา
สรุปผลการปฏิบัติสหกิจศึกษา สถานประกอบการประเภทหน่วยงานราชการ
สุมนมาลาการ.
รายงานการปฏิบัติงาน (สหกิจศึกษา)
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วันแม่แห่งชาติ ด.ญ.กมลชนก เนตรสว่าง.
วันแม่แห่งชาติ โดย วัชราภรณ์ เพ็งสุข.
จากด.ญ.พิมพ์พรรษ อุ่นเรือน
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
ส่วนการทะเบียนทั่วไป
ผลการดำเนินการจัดระเบียบสังคม จังหวัดปราจีนบุรี
นายวิบูลย์ทัต สุทันธนกิตต์ ผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปยอดเงินทูลเกล้าถวาย
พื้นที่โครงการ 11 พื้นที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
กลุ่ม อ. จอย ผู้ประกอบการ ร้านด่าน ซ้ายส้มตำ. ร้าน ด่านซ้ายส้มตำ.
กลุ่ม อ.จอย ผู้ประกอบการ ร้านคูณสาม ในอำเภอด่านซ้าย
ประเมินพนักงานราชการ ครั้งที่ ๑ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖
สถานที่ท้องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา
WELCOME To ANGTHONG.
ยินดีต้อนรับ สู่ กศน.ตำบลส้มผ่อ.
MY SCHOOL BANRAIWITTAYA B.R.W. By…Nittaya Kaeonan.
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
สำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง จึงได้จัดตั้งหน่วยซ่อมบำรุงรักษาทางหลวงชนบท 2 แห่ง ได้แก่ 1. หน่วยซ่อมบำรุงหลวงชนบทที่ 1 (ทับมา) ตั้งอยู่ภายในสำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง.
วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร.
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
โครงการ “การพัฒนาระบบบริการเครือข่ายครู ผู้ดูแลเด็กพิเศษ” โรงพยาบาลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร.
การศึกษาประวัติศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ประวัติสุนทรภู่ ตระกูล วัยเยาว์ ออกบวช (ช่วงตกยาก) วิกิพีเดีย.
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
ห้วงเวลาดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล และระดับจังหวัด 18 ก. พ. – 31 มี. ค. 55 รับลงทะเบียน กศน./ พช. 1 มิ. ย. 55 ประกาศรายชื่อสมาชิกฯ.
ชีวประวัติ ท่านสุนทรภู่มหากวีของโลก
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ
ประวัติความ เป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระ นางเจ้าพระบรมราชินี นาถทรงสนพระทัยในการที่พระเทพสิทธิญาณรังสี ( พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก ) ได้ไปดำเนินการพัฒนา.
1. ความเป็นมา ตามที่ นางวงษ์เดือน มุขเงิน นายกองค์การ บริหารส่วนตำบลหนองประดู่ อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี ได้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ผ่าน ราชเลขาธิการ ขอพระราชทานแหล่งน้ำเพื่อใช้ใน.
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำบ้านทับศิลา
แผนการจัดการเรียนรู้
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี
สถานที่ท่องเที่ยวหน้า หนาว จัดทำโดย เด็กหญิง ชุติกาญจน์ ยี่บุญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 เลขที่ 1 เสนอ คุณครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด.
เทศบาลตำบลวังทรายพูน อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร
1. ประกาศรับสมัครคัดเลือกภายในวันจันทร์ที่ 19 ม. ค รับสมัครคัดเลือกวันจันทร์ที่ 26 ม. ค.- วันอาทิตย์ที่ 1 ก. พ.2558 ( ไม่เว้นวันหยุดราชการ.
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
การทำปกหน้า.
ประวัติความเป็นมา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2540 นายเล็ก พระ แท่น กรรมการบริหารส่วนตำบลท่าเสา อำเภอไทร โยค จังหวัดกาญจนบุรี ได้ถวายฎีกาขอพระราชทาน ความช่วยเหลือในการก่อสร้างฝายและขุดลอกลำ.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
รายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน ตุลาคม 2557 สำนักงานเกษตรอำเภอลำลูกกา.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์

ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์. มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1 ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.กำหนดหัวเรื่อง 2.รวบรวมข้อมูล 3.ประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4.การตีความหลักฐาน 5.วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

ขั้นตอนที่ 1 กำหนดหัวเรื่อง เรื่อง วังเก่าวังใหม่ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดหัวเรื่อง เรื่อง วังเก่าวังใหม่

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล

1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร. - หนังสือพัทลุงศึกษา (หน้า 379-382) 1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร - หนังสือพัทลุงศึกษา (หน้า 379-382) โดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พัทลุง 2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร - พระครูกิตติญาณโกวิท อายุ 87 ปี เจ้าอาวาสวัดวัง ตำบลลำปำ อำเภอ เมือง จังหวัดพัทลุง

ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน

จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร วังเก่า-วังใหม่ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง วังเก่า ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์) วังใหม่ ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์)

จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากคำบอกเล่าของ พระครูกิตติญาณโกวิท เจ้าอาวาสวัดวัง ว่า “วังเก่า-วังใหม่ เป็นวังเจ้าเมืองเดิม ที่สร้างขึ้นเพื่อว่าราชการเมืองและเป็นที่พำนักของเจ้าเมือง ซึ่งสร้างอยู่ติดกับคลองลำปำ ซึ่งวัดวังก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับวังเก่า-วังใหม่แห่งนี้ด้วยคือ เป็นสถานที่เก็บบรรจุอัฐิของเจ้าเมืองและบรรดาพระญาติ ”

พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์) พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์)

ขั้นตอนที่ 4 ตีความหลักฐาน ขั้นตอนที่ 4 ตีความหลักฐาน

วังเก่า พระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย จันทโรจวงศ์) หรือ พระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย จันทโรจวงศ์) เจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ. 2412-2431 ได้สร้างวังเก่าเพื่อใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการเมือง

วังใหม่ วังใหม่เป็นจวนของ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) เป็นผู้สร้างวังใหม่ขึ้นด้านหลังวังเก่า ทางทิศใต้ติดกับคลองลำปำ ในปี พ.ศ. 2432

ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

วังเก่า ผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาอภัย-บริรักษ์ (น้อย จันทโรจวงศ์) เจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ. 2412-2431 สร้างไว้เป็นที่ว่าราชการเมือง หลังจากท่านดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองพัทลุงอยู่ 19 ปี จึงกราบบังคมทูลลาออกจากราชการ ด้วยชราภาพและทุพพลภาพจักษุมืดมัวแลไม่เห็นทั้งสองข้าง

ร.5 จึงพระราชทานราชทินนามให้เป็น พระยาวรวุฒิไวย วัฒลุงควิสัย อิศรศักดิ์พิทักษ์ราชกิจ นริศราชภักดี อภัยพิริยพาหะ และโปรดเกล้าฯให้หลวงจักรานุชิต (เนตร จันทโรจวงศ์) บุตรชายคนโตซึ่งเป็นผู้ช่วยราชการเมืองพัทลุงอยู่นั้นเป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมา

วังใหม่ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) เป็นผู้สร้างวังใหม่ขึ้นใน พ.ศ.2432 ด้านหลังวังเก่าทางทิศใต้ติดกับคลองลำปำ จึงมีชาวบ้านเรียกว่า“วังใหม่ชายคลอง”หรือ“วังชายคลอง” แต่นิยมเรียก“ วังใหม่”

วังใหม่ หรือจวนใหม่ เป็นจวนของ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร จันทโรจวงศ์) ผู้ว่าราชการเมืองพัทลุงคนสุดท้าย ก่อนการปฎิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

วังเก่า หรือ จวนเก่า

วังใหม่ หรือ จวนใหม่

สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวธัตติมา. สงด้วง. เลขที่ 12 2. นางสาวนุชรี สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวธัตติมา สงด้วง เลขที่ 12 2.นางสาวนุชรี ด้วงคง เลขที่ 13 3.นางสาวปาริฉัตร สีไข่ เลขที่ 26 4.นางสาวพรพิมล เหลือจันทร์ เลขที่ 27 5.นางสาววิทยาภรณ์ รัตนพงค์ เลขที่ 28 6.นางสาวสุพัตรา แป้นด้วง เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6