ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ระบบHomeward& Rehabilation center
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ อำนาจหน้าที่ ยุทธศาสตร์สำนัก / กอง / ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง
ปี ๒๕๕๖ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การจัดทำแผนชุมชน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

นิยาม/คำอธิบาย เทศบาลและองค์การบริหารส่วน ตำบล หมายถึง เทศบาลและ องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีอยู่ ตามฐานข้อมูลกรมส่งเสริมการ ปกครองส่วนท้องถิ่น ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ จำนวน ๗.๗๗๕ แห่ง แบ่งเป็นเทศบาล ๒.๒๖๖ แห่ง องค์การบริหาร ส่วนตำบล ๕.๕๐๙ แห่ง

นิยาม/คำอธิบาย แผนชุมชน หมายถึง แผนพัฒนา หมู่บ้านและแผนพัฒนาชุมชน ที่ กำหนดทิศทางของการพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน โดยเกิดจากการจัดการและ กระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชน ซึ่งร่วมกันคิดและร่วมกันกำหนด กิจกรรมขึ้นมาเอง โดยให้ความสำคัญ กับการพึ่งตนเอง เป็นกิจกรรมที่ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ ของหมู่บ้าน ชุมชน และเน้นการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นเป็นหลัก โดยเป็นแผนที่เกิดจากกระบวนการที่ เปิดโอกาสให้กับทุกคนในชุมชนได้ ร่วมกันสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา กำหนดแนวทางแก้ไขและพัฒนา ร่วมกัน

นิยาม/คำอธิบาย การนำแผนชุมชนสู่การพัฒนา ท้องถิ่นตามเกณฑ์ที่กำหนด ตาม ขั้นตอนที่กำหนด ๕ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๕ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๑

ขั้นตอนที่ ๑ เทศบาลและองค์การบริหาร ส่วนตำบล ส่งเสริมกระบวนการ แผนชุมชน โดยมีการตั้ง คณะทำงานสนับสนุน กระบวนการแผนชุมชนระดับ ท้องถิ่น หรือมีคณะทำงานอื่นใน ระดับตำบลที่มีอยู่แล้ว หน่วยงาน องค์กร ผู้นำภาค ประชาชนที่เกี่ยวข้องร่วมเป็น คณะทำงานและมีแนวทางการ ดำเนินงานร่วมกัน

คณะทำงาน องค์ประกอบ -นายก อปท./รองนายกที่นายกมอบหมาย เป็นประธาน -นายก อปท./รองนายกที่นายกมอบหมาย เป็นประธาน -กำนัน เป็นที่ปรึกษา -พัฒนาการอำเภอ/ผู้แทน , ท้องถิ่นอำเภอ/ ผู้แทน ประธาน ศอช.ต ประธานสภา สอช. ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำภาคประชาชน ภาคีการพัฒนาที่ เกี่ยวข้อง เป็นคณะทำงาน -โดยมีปลัด อปท./ผู้ที่นายกฯ มอบหมาย เป็นเลขานุการ

ขั้นตอนที่ ๒ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล สนับสนุนให้คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือคณะกรรมการชุมชนจัดให้มีเวที ประชาคม ทบทวนปรับปรุงแผน ชุมชนให้ครอบคลุมมิติการพัฒนา อย่างน้อย ๓ ด้าน ได้แก่ ด้าน เศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพ ชีวิต ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ตามสภาพปัญหาและ ความต้องการของหมู่บ้าน โดยใช้ ข้อมูลหมู่บ้าน ชุมชนหรือข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง เช่น จปฐ. กชช. ๒ ค ประกอบการดำเนินงาน

ขั้นตอนที่ ๓ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล สนับสนุนให้ ศูนย์ประสานงาน องค์กรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) สภาองค์กรชุมชน (สอช.) ถ้ามี หรือ องค์กรภาคประชาชนอื่นระดับตำบล หรือประชาชนคมตำบล ร่วมกับแกน นำหมู่บ้าน ชุมชน จัดเวทีประชาคม ระดับเทศบาล องค์การบริหารส่วน ตำบลเพื่อบูรณาการแผนชุมชน ระดับเทศบาล องค์การบริหารส่วน ตำบลที่มีมีติการพัฒนาอย่างน้อย ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้าน สังคมและคุณภาพชีวิต ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ขั้นตอนที่ ๔ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล นำโครงการ/กิจกรรมจากแผนชุมชน ที่เกิดจากเวทีประชาคม และอยู่ใน อำนาจหน้าที่ตามลำดับความสำคัญ ซึ่งไม่นับรวมโครงการ กิจกรรมที่ ชุมชนดำเนินการเอง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๐ กำหนดไว้ในแผนพัฒนา ของท้องถิ่นของปีต่อไป

ขั้นตอนที่ ๕ โครงการ/กิจกรรมในแผนชุมชนที่ บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปี ถัดไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ได้รับ ความเห็นชอบจากผู้บริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น นำเข้าการ บรรจุไว้ในร่างข้อบัญญัติงบประมาณ ของเทศบาลหรือองค์กรปกครอง ส่วนตำบล ในปีงบประมาณถัดไป

ผลความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดฯ จังหวัดแพร่ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๖