กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณ ๒๕๕๖
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การสนับสนุนการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) เครือข่ายบริการที่ 4.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
28 กุมภาพันธ์ 2556 สปสช. เขต 8 อุดรธานี. 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บาท / ปชก. สิทธิ UC 1,342,755 บาท 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
Palliative Care e-Claim.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558 กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558

สิทธิประโยชน์บริการการแพทย์แผนไทย ในระบบ UC บริการนวดไทย (นวด ประคบ อบสมุนไพร) - บริการในหน่วยบริการ - บริการเชิงรุกในชุมชน บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย (นวด อบ ประคบ ทับหม้อเกลือ แนะนำการดูแลหลังคลอด) 3. การสั่งจ่ายยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ

แนวคิด/หลักการ ปี 58 สนับสนุนยุทธศาสตร์และแผนงานแพทย์แผน ไทยและสมุนไพรของกรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยฯ (เหมือนปี57) เพิ่มศักยภาพบริการแพทย์แผนไทยควบคู่กับ บริการสาธารณสุขอื่น (เหมือนปี 57) กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์การบริการแพทย์แผนไทย เป้าหมายที่หน่วยบริการ ระดับ รพศ./รพท./ รพช. เน้นความเข้มแข็งของหน่วยบริการทุกระดับ วางระบบบริการแพทย์แผนไทยในทุกภาคส่วน เน้นความมั่นคงในระยะยาว

เป้าประสงค์ : ประชาชนเข้าถึง เชื่อมั่น และใช้บริการ แพทย์แผนไทย และสมุนไพรไทย เพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้มีบริการแพทย์แผนไทยที่มีคุณภาพและ ปลอดภัยคู่ขนานและผสมผสานไปกับการแพทย์ แผนปัจจุบัน 2. เพื่อให้มีการใช้ยาจากสมุนไพรที่อยู่ในบัญชียา หลักแห่งชาติเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ “ประชาชนได้รับบริการแพทย์แผน ไทยที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ได้ มาตรฐาน และได้รับการรักษาโดยการสั่งจ่าย ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ”

สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในปี 58 รายละเอียด ปี 57 ปี 58 1. หลักการ 1.1 ขยายจังหวัดต้นแบบการพัฒนาและการจัดบริการแพทย์แผนไทย รวม 20 จว. 1.1 กลยุทธ์การบริการแพทย์แผนไทยเป้าหมายที่หน่วยบริการ หน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.สต. หน่วยบริการประจำ/ รพศ./รพท./รพช. รพ.แพทย์แผนไทย 2. สัดส่วนงบชดเชยและงบสนับสนุน งบ 400.098 ลบ (8.19 บาท/ปชก.) (Pop 48.852 ล้านคน) งบตามเกณฑ์บริการ : งบสนับสนุนฯ (93 : 7) งบ 398,083,140 ลบ.(8.19บาท/ปชก.) (Pop 48.606 ล้านคน) งบตามเกณฑ์บริการ (100%)

รายละเอียด ปี 57 ปี 58 3. การบริหารงบค่าบริการ 3.1 จ่ายชดเชยตามผลงานบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ (นวด อบประคบ ฟื้นฟูแม่หลังคลอด,ยาจากสมุนไพรใน ED) 3.2 จ่ายชดเชยบริการ การนำร่องระบบบริการเวชกรรมไทยระดับ รพศ./รพท./รพช.และ รพสต. (สังกัดกรมพัฒน์ฯ) ที่ผ่านเกณฑ์ศักยภาพ ตามที่กำหนด 3.3 จ่ายเพื่อสนับสนุนจว.ต้นแบบแผนไทยที่มีผลงานตามเกณฑ์ เหมาจ่ายการจัดบริการเวชกรรมไทยสำหรับหน่วยบริการที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์กลาง และเกณฑ์ระดับพื้นที่ที่กำหนด

กรอบการบริหารงบบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2558 งบค่าบริการแพทย์แผนไทย 8.19 บาท/ปชก.ผู้มีสิทธิ 48.606 ล้านคน (398,083,140 ลบ.) หน่วยบริการที่ได้รับงบประมาณ ระดับต่างๆ ดังนี้ 1. หน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.สต. 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการประจำ/รพศ./รพท./รพช. (รวมหน่วยบริการที่เป็นแหล่งเพิ่มพูนประสบการณ์วิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย/แผนไทยประยุกต์) 3. รพ.แพทย์แผนไทยสังกัดกรมพัฒนาแพทย์แผนไทยฯ ที่เป็นหน่วยบริการประจำ * หน่วยบริการต้องมีการจัดบริการแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ และผ่านการตรวจประเมินขึ้นทะเบียนฯของสปสช.

แนวทางการคิด Global ลงเขต 1. ปชก. UC ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 (40%) 2. ผลงานบริการ (30%) - ใช้ข้อมูลจากผลงานการเบิกจ่าย 4 ไตรมาส จากข้อมูล OP/PP individual (ไตรมาส4/56+ไตรมาส 1-3/57) - นับจำนวนครั้งของทุกกิจกรรม (นวด ประคบ อบสมุนไพร การสั่งจ่ายยา สมุนไพรเฉพาะ ED) และการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด) 3. จำนวนหน่วยบริการ (30%) - ใช้ข้อมูลหน่วยบริการที่เบิกจ่าย จากข้อมูล OP/PP individual (ไตรมาส4/56+ ไตรมาส 1-3/57) - ใช้ข้อมูลการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการประจำที่ผ่าน เกณฑ์ - ใช้ข้อมูลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์/ผช. แพทย์แผนไทย จากโปรแกรมแพทย์แผนไทย

การจัดสรรงบระดับเขตฯ งบค่าบริการแพทย์แผนไทย สปสช.เขต ๑ เชียงใหม่ (35.365 ลบ.) จัดสรรตามหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการการแพทย์แผนไทย เกณฑ์การจัดสรรเพิ่มเติมระดับเขตฯ/ตามตัวชี้วัดผลงานระดับเขต

หลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการการแพทย์แผนไทย

หลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการการแพทย์แผนไทย(ต่อ)

หลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการการแพทย์แผนไทย(ต่อ)

หลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายบริการการแพทย์แผนไทย(ต่อ)

ตัวชี้วัด ปี 58 1. หน่วยบริการประจำ/รพศ./ รพท./ รพช. ที่ผ่านคุณสมบัติหน่วยบริการตามตัวชี้วัดของส่วนกลางและ สปสช.เขต 500 แห่ง 2. ประชาชนสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้รับบริการแพทย์แผนไทยตามชุดสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้น (คน) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 3. ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.สต.ทีมีแพทย์แผนไทยประจำและมีการสั่งจ่ายยาจากสมุนไพรอย่างน้อย 10 รายการ (รวม ED& Non ED) ร้อยละ 75 4. ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 8

ข้อมูลที่ใช้ในการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน แหล่งข้อมูล รายการข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย (นวด ,อบ,ประคบ,แม่หลังคลอด) (กรณี OP) บริการแพทย์แผนไทย(นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด) (กรณี IP) ยาสมุนไพร (การสั่งใช้ยา&มูลค่าการใช้ยา) บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย (แพทย์แผนไทย,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) ผลการประเมินการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการแพทย์แผนไทย OP/PP Individual E-Claim Program TTM Data Center