การศึกษาประวัติศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายข่าว Newsletter
Advertisements

13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.
แนวทางการดำเนินการ สร้างพลังสังคมและพลังชุมชน
นโยบายและข้อสั่งการเร่งรัดติดตาม การดำเนินงานสร้างพลังสังคม
ไฟป่า(Forest Fire).
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
รายงานธุรกิจ.
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
โครงงาน ศาสนพิธี.
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
คิดที่แตกต่างกรณีศึกษาจากฮาร์วาร์ด โดย.. ไพศาล สุริยะวงศ์ไพศาล
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคใต้
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
สมัยนาระ.
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
“ เรื่อง ปฏิทินประวัติศาสตร์ ”
บรรยายสรุปประจําเดือน มิถุนายน 2556
 ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่องแบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าทึบแสงและแบบสรุปผลการตรวจวัดค่าทึบแสงของเขม่าควันจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอยรวมทั้งลักษณะและหน่วยวัดค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
เปรียบเทียบความถี่การเกิดไฟป่ารายเดือน ตั้งแต่ ปี ในท้องที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน
เผาบุหรี่ – จับรถ ที่เบตง ตามที่องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันงดสูบบุหรี่โลก เนื่องจาก การสูบ บุหรี่เป็นประจำ จะทำให้เกิดความเสี่ยงอย่างสูงต่อปัญหา.
สรุปงานหอผู้ป่วย แผนผังอัคคีภัย
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.เรืองโรจน์สระบุรี
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.เรืองโรจน์สระบุรี
ปรัชญา ที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
อุทยานแห่งชาติเจ็ดสาวน้อย จอดรถที่ลานจอดรถ ไม่ต้องเสียค่าเข้าชมครับ ตอนนี้อุทยานแห่งชาติเจ็ดสาวน้อย มีความเข้มงวดเรื่องการทิ้งขยะมากกว่าเมื่อหลายปีก่อน.
เผด็จการทหารพม่า เป็นปัญหาของประชาชาติชาติทั่วโลก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย
อาจารย์สราวุฒิ จบศรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
ตำนานรักแห่งเมืองชลบุรี
ประวัติของ ด.ญ.วิภาวี อิ่มประดิษฐ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สรุปอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2550
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่
การออกแบบการวิจัย.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย นางสุภัสสรา พลซักซ้าย 1 มิถุนายน 2556
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสำหรับโครงการ หรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ.
เกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน อำเภอป่าบอน อำเภอป่าพะยอม และอำเภอตะโหมด และที่ตั้งของสถานีอนามัย จังหวัดพัทลุง ณ วันที่
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
แสดงเพียง บางส่วน แจ้งให้ ภาควิชา / หน่วยงาน ส่งวันที่ พร้อม ให้คณะเข้า ตรวจประเมินฯ แจ้งกรรมการตรวจ ประเมินฯ ของคณะ ส่งวันที่ และรายชื่อ หน่วยงานที่พร้อมฯ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาประวัติศาสตร์ “ถีบลงเขา เผาถังแดง”

ขั้นตอนการศึกษาประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน คือ กำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ตีความหลักฐาน สรุปผลการศึกษาประวัติศาสตร์

กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษากันในกลุ่ม ขั้นตอนที่ 1 กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษากันในกลุ่ม ผลจากการหารือทางกลุ่มของกระผมสรุปว่าจะทำการศึกษาเรื่อง “ถังแดง”

รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร www.thaingo.org/story3/red_tang.htm www.thaingo.org/story/tangdang.htm www.arunsawat.com/board/index.php?topic=887.0 www.thaioctober.com/forum/index.php?topic=481.msg20830

หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร สัมภาษณ์ผู้รู้จากนาย สมใจ ศรีแก้ว อายุ 76 ปี บ้านเลขที่ 118 ม.8 ต.ตะแพน อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง

ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน

หลักฐานไม่เป็นลายลักอักษร จากบทสัมภาษณ์ของนายสมใจ กล่าวไว้ว่าเหตุการณ์ถังแดงเกิดขึ้นในช่วงระหว่างปี 2513-2515 ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร ได้ปราบปรามผู้เคลื่อนไหวต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธแบบเหวี่ยงแหและรุนแรงด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก

แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง แล้วราดน้ำมันจุดไฟเผาจนเหลือแต่กระดูก บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง" นั่นเอง “ค่ายเกาะหลุง กิ่งอำเภอศรีนครินทร์” เป็นที่ตั้งของอุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานที่เหล่าสหาย พรรคพวก เพื่อนพ้อง และบรรดาญาติพี่น้องของผู้ที่ได้อุทิศชีวิตได้ร่วมกันก่อสร้าง เดือนเมษายนของทุกปีคนเหล่านี้จะมาร่วมกันทำบุญให้กับ “เพื่อนสหาย” ที่เสียชีวิต เป็นที่ที่ได้จัดให้มีการ “รำลึกถังแดง” ร่วมกัน

หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร ประวัติศาสตร์ประชาชน “คอมมิวนิสต์และกรณีถังแดง” 3008 ศพที่ถูกสังหารไประหว่างปี 2508-2534 ในเหตุการณ์ “ถีบลงเขา เผาถังแดง” และฝังความเจ็บร้าวไว้ในใจของคนที่สูญเสีย และเมือเม่าควันแห่งความสะพรึงกลัวต่อ “ปีศาจคอมมิวนิสต์” โดยเหตุการณ์ถังแดงนี้ได้เกิดในช่วงของของรัฐบาลจอมพลถนอม กิติขจร ซึ่งในช่วงนั้นได้มีการปราบปรามคอมมิวนิสต์

ซึ่งในพัทลุงและจังหวัดใกล้เคียงเป็นแหล่งชุมนุมของคอมมิวนิสต์จึงได้มีการปราบปรามด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก

แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง แล้วราดน้ำมันจุดไฟเผาจนเหลือแต่กระดูก บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง"

ขั้นตอนที่ 4 ตีความหลักฐาน

ประวัติศาสตร์ประชาชน “คอมมิวนิสต์และกรณีถังแดง” 3008 ศพที่ถูกสังหารไประหว่างปี 2508-2534 ในเหตุการณ์ “ถีบลงเขา เผาถังแดง” และฝังความเจ็บร้าวไว้ในใจของคนที่สูญเสีย และเมือเม่าควันแห่งความสะพรึงกลัวต่อ “ปีศาจคอมมิวนิสต์” โดยเหตุการณ์ถังแดงนี้ได้เกิดในช่วงของของรัฐบาลจอมพลถนอม กิติขจร ซึ่งในช่วงนั้นได้มีการปราบปรามคอมมิวนิสต์ ซึ่งในพัทลุงและจังหวัดใกล้เคียงเป็นแหล่งชุมนุมของคอมมิวนิสต์จึงได้มีการปราบปรามด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก

แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง ด้านล่างจะเสียบตะแกรงเหล็กสูงกว่าก้นถังประมาณ ๑ ศอก ส่วนด้านบนต่ำจากปากถังจะมีตะแกรงเหล็กกั้นอยู่เช่นกัน เพื่อป้องกันศพไม่ให้เด้งขึ้นมา(เพราะเอ็นยึด) เวลาจะเผาเทน้ำมันก๊าดลงไป จุดไฟลุกพรึบ บางทีเผาพร้อมกัน ๒ – ๓ คน มีหลายคนถูกเผาทั้งเป็น ใช้เวลาในการเผาประมาณ ๒ ชั่วโมง ๔๕ นาที ก็หายเรียบ บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง"

อนุสรณ์สถานประวัติศาสตร์ ค่ายเกาะหลุง ต.ลำสินธุ์ อ.กงหรา จ.พัทลุง

ญาติพี่น้องผู้ที่เสียชีวิตในกรณีถังแดง มาร่วมงานรำลึกถังแดง ในทุกๆๆปี

สรุปผลของการศึกษาประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลของการศึกษาประวัติศาสตร์

สรุปผลการศึกษา จากการที่กลุ่มของกระผมได้ออกไปทำการศึกษาเหตุการณ์ในกรณีถังแดง ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้เกิดขึ้นในช่วงสมัยจอมพลถนอม กิติขจร ซึงเหตุการณ์ในครั้งนี้เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2513-2515 โดยเหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 3008 ศพ จากการโดนเผาทั้งเป็นจะโดนทำร้ายจากพวกทหาร

โดยได้ปราบปรามผู้เคลื่อนไหวต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธแบบเหวี่ยงแหลุรุนแรงด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหักแล้วจับยัดถังเป็นถังใส่น้ำมันสมัยก่อนมีขนาด ๒๐๐ ลิตร ด้านล่างจะเสียบตะแกรงเหล็กสูงกว่าก้นถังประมาณ ๑ ศอกส่วนด้านบนต่ำจากปากถังจะมีตะแกรงเหล็กกั้นอยู่เช่นกัน เพื่อป้องกันศพไม่ให้เด้งขึ้นมา (เพราะเอ็นยึด) เวลาจะเผาเทน้ำมันก๊าดลงไป จุดไฟลุกพรึ่บ บางทีเผาพร้อมกัน ๒ – ๓ คน มีหลายคนถูกเผาทั้งเป็น

ใช้เวลาในการเผาประมาณ ๒ ชั่วโมง ๔๕ นาที ก็หายเรียบ และบางส่วนทำร้ายด้วยการทุบที ทรมานร่างกายจนเสียชีวิตแล้วถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบลงให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า “ถีบลงเขา เผาถังแดง”