ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
หน่วย การเรียนรู้.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กิจกรรมปฐมนิเทศ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรียนรู้
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เป็นแนวทางในการวัดและประเมินผล การเรียนระดับสถานศึกษาและชั้นเรียน วัตถุประสงค์ เป็นแนวทางในการวัดและประเมินผล การเรียนระดับสถานศึกษาและชั้นเรียน

ระดับการวัดและประเมินผล ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ

จุดมุ่งหมายของการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ครูผู้สอนต้องดำเนินการวัดและประเมินผล มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณภาพผู้เรียน สมรรถนะ /คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

แผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ ความสามารถในการสื่อสาร สมรรถนะสำคัญ ๕ ด้าน ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

การประเมินระหว่างการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative assessment) เก็บข้อมูลการเรียนรู้ระหว่างเรียนเพื่อใช้ส่งเสริม/ปรับปรุง g เกิดขึ้นในห้องเรียนทุกวัน รู้จุดเด่น/จุดที่ปรับปรุง เป็นข้อมูลพัฒนา เป็นเครื่องมือกำหนดเป้าหมายการเรียนการสอน ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้วิธีการและเครื่องมือประเมิน ใช้ผลประเมินวางแผนและทบทวนการสอน

การประเมินระหว่างการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative assessment) ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้วิธีการและเครื่องมือประเมิน g การสังเกต การซักถาม การใช้แฟ้มสะสมงาน การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การใช้ภาระงานที่ปฏิบัติ การระดมความคิดเห็น การประเมินความรู้เดิม การให้เพื่อนประเมินเพื่อน การใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) การให้ข้อมูลย้อนกลับเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทำให้การเรียนรู้เพิ่มพูน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้(Summative assessment) เป็นการประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียน/จบรายวิชา g ตัดสินให้คะแนน/ให้ระดับผลการเรียน/ให้การรับรองความรู้ความสามารถผู้เรียนว่าผ่านรายวิชาหรือไม่ ควรได้รับการเลื่อนชั้นหรือไม่ / จบหลักสูตรได้หรือไม่ สถานศึกษามีหน้าที่อนุมัติผลและรายงานผลการเรียน

เกณฑ์การจบการศึกษา เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน การดำเนินการเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ำชั้น เกณฑ์การจบการศึกษา

แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

วัดและประเมิน การเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย บูรณาการ ในการเรียน วัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ วัดและประเมิน การเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย บูรณาการ ในการเรียน การสอน ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย การงานอาชีพฯ คณิตศาสตร์ สุขศึกษา/พละศึกษา วิทยาศาสตร์ ศิลปะ สังคมศึกษาฯ

กระบวนการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หนังสือ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ สื่อต่าง ๆ แล้วสรุปเป็นความรู้ความเข้าใจของตนเอง อ่าน(รับสาร) วิเคราะห์ สังเคราะห์ หาเหตุผล แก้ปัญหา และสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ ถ่ายทอดความรู้ ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ เขียน (สื่อสาร)

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีจิตสาธารณะ ซื่อสุจริต คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย มีวินัย มุ่งมั่นในการทำงาน ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมนักเรียน -ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์/นักวิชาการทหาร -ชุมนุม/ชมรม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

และประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัด และประเมินผลการเรียนรู้

ทุกตัวชี้วัด/ผ่านเกณฑ์ ทุกรายวิชาได้รับการตัดสิน ผลการเรียน เวลาเรียน ๘๐ % ทุกตัวชี้วัด/ผ่านเกณฑ์ ทุกรายวิชาได้รับการตัดสิน อ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

การให้ระดับผลการเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รายวิชาให้ระดับผลการเรียนเป็น ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน รายวิชาให้ระดับผลการเรียนเป็น ระบบตัวเลข 8 ระดับ รายวิชาที่จะนับหน่วยกิต ต้องได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ระดับ 1 ขึ้นไป การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ระดับการประเมิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น ผ่าน และ ไม่ผ่าน

ความหมายผลการประเมินคุณภาพ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ดีเยี่ยม : สามารถจับใจความสำคัญได้ครบถ้วน เขียนวิพากษ์วิจารณ์ เขียนสร้างสรรค์ แสดงความ คิดเห็นประกอบอย่างมีเหตุผลได้ถูกต้องและสมบูรณ์ ใช้ภาษาสุภาพและเรียบเรียงได้สละสลวย ดี : สามารถจับใจความสำคัญได้ เขียนวิพากษ์วิจารณ์ และเขียนสร้างสรรค์ได้ โดยใช้ภาษาสุภาพ ผ่าน : สามารถจับใจความสำคัญ และ เขียนวิพากษ์วิจารณ์ ได้บ้าง

ความหมายผลการประเมินคุณภาพ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดีเยี่ยม : ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติจนเป็น นิสัยและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุข ของตนเองและสังคม ดี : ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในสังคม ผ่าน : ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และเงื่อนไขที่สถานศึกษากำหนด

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาจาก : การเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม ผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด/ ให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน/ไม่ผ่าน

การสอนซ่อมเสริม ความรู้/ทักษะไม่เพียงพอในแต่ละรายวิชา ไม่แสดงความรู้/ทักษะ/เจตคติ ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ในการประเมินระหว่างเรียน ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์/ต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน สอนซ่อมเสริมก่อนสอบแก้ตัว ผลการเรียนไม่ผ่าน สอนซ่อมเสริมภาคฤดูร้อน ให้อยู่ในดุลยพินิจ

การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างระหว่างเรียนกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค ให้ความสำคัญของคะแนนระหว่างเรียนมากกว่า ๖๐ : ๔๐ , ๗๐ : ๓๐ , ๘๐ : ๒๐ กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน และกำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ของผลการเรียน ประถม ตัวเลข ร้อยละ ตัวอักษร คุณภาพสะท้อนมาตรฐาน มัธยม ผลการเรียน ๘ ระดับ ผลประเมินไม่สมบูรณ์ (ได้ ร) ไม่มีสิทธิ์สอบ (ได้ มส) กำหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผลการเรียน “0” ผลการเรียนที่มีเงื่อนไข “ร” “มส” กำหนดแนวปฏิบัติในการอนุมัติผลการเรียน กำหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมินต่อผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทาง วิธีการกำกับ ติดตาม บันทึกผลประเมินในเอกสารหลักฐาน

แนวดำเนินการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กำหนดผลการเรียนรู้/ความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ กำหนดเกณฑ์ตัดสินคุณภาพ (ดีเยี่ยม ดี ผ่าน) ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษา ผู้สอนออกแบบการประเมิน ให้เหมาะสมแต่ละชั้นปี และการจัดการเรียนรู้แต่ละภาคเรียน

รูปแบบ/วิธีการพัฒนา/การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ประเมินจากผลงาน/การเข้าร่วมกิจกรรม กรณีที่บุคลากรสอนไม่เพียงพอ บูรณาการกับหน่วย การเรียนรู้ในรายวิชาโดยมีสัดส่วน เป็นตัวแทนได้ นำไปจัดการเรียนรู้ แต่ละรายวิชา มีผลประเมิน เป็นผลงานในหน่วยการเรียนรู้นั้น นำผล เป็นผลประเมินการอ่านฯ กรณีที่บุคลากรสอนพียงพอ ส่งเสริม/พัฒนาในกลุ่มสาระ จัดโครงงาน/กิจกรรมเสริม ประเมินผลในกลุ่มสาระ / ผลจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ประเมินจากแบบทดสอบมาตรฐานประเมินการอ่าน : ทดสอบกับผู้เรียนทุกคน แบบทดสอบต้องมีความเทียงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได้

เกณฑ์การตัดสินผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การใช้เกณฑ์การให้คะแนน (RUBRICS) กำหนดระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม ดี ผ่าน กำหนดประเด็นการประเมิน เช่น การนำเสนอเนื้อหา การใช้ภาษา ให้คำอธิบายคุณภาพของประเด็นการประเมิน

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ การนำเสนอเนื้อหา -เรียงลำดับเรื่องราวได้เหมาะสม ไม่วกวน -แสดงความคิดเห็นประกอบได้อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ นำเสนอประเด็นสำคัญที่ทำให้เห็นความชัดเจนของเรื่อง ประเมินสิ่งที่เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ถูกต้อง -แสดงความคิดเห็นประกอบได้อย่างมีเหตุผล -นำเสนอข้อมูลชัดเจน แต่บางประเด็นไม่ชัดเจน -เรียงลำดับเรื่องราวได้ แต่มีการวกวนบ้าง -แสดงความคิดเห็นประกอบ -ข้อมูลสนับสนุน หรือประเด็นยังไม่ชัดเจน การใช้ภาษา เขียนสะกดคำได้ถูกต้อง เลือกใช้คำตรงความหมาย ใช้ภาษาเหมาะกับระดับภาษา ใช้ภาษาสื่อสารตรงจุดประสงค์ -เขียนสะกดคำถูกต้องตามอักขรวิธี -เลือกใช้คำตรงความหมาย -ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับภาษา

แนวดำเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมิน เพื่อ กำหนดแนวทาง : พัฒนา ประเมิน เกณฑ์ ปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม ตัดสินผลการประเมินรายปี (ประถมศึกษา) รายภาค (มัธยมศึกษา) และจบการศึกษา จัดระบบการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมและส่งต่อข้อมูลเพื่อพัฒนาต่อเนื่อง นิยาม/ความหมายของคุณลักษณะแต่ละตัว กำหนดตัวชี้วัด/พฤติกรรม กลุ่ม เกณฑ์/แนวทางการประเมินสอดคล้องบริบท/จุดเน้น : ดีเยี่ยม ดี ผ่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าฐานนิยม (Mode) ตัดสินผลตามเกณฑ์ ให้ครูกลุ่มสาระ/ผู้ที่ได้รับมอบหมายพัฒนาและประเมิน

รูปแบบที่ ๑ แยกการประเมินออกจากตัวชี้วัดของกลุ่ม กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ภาษาไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ครูผู้สอน/ครูที่รับผิดชอบโครงการ/ กิจกรรมส่งระดับการประเมิน ตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากำหนด ครูวัดผล คณิตศาสตร์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ วิทยาศาสตร์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ สุขศึกษา/พละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ประมวลผล โดยใช้ ฐานนิยม สังคมศึกษา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ การงานอาชีพ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ศิลปศึกษา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ภาษาต่างประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ อนุมัติ ชมรม/ชุมนุม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ โครงการ/กิจกรรม

รูปแบบที่ ๒ นำคุณลักษณะประเมินร่วมกับกลุ่มสาระ/ตัวชี้วัด เลือกคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับกลุ่มสาระ/ตัวชี้วัด กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม ภาษาไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระส่งผลการประเมิน ครูวัดผล คณิตศาสตร์ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ วิทยาศาสตร์ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๘ สุขศึกษา/พละ ๒ ๓ ๔ ๖ ๗ ๘ ประมวลผล โดยใช้ ฐานนิยม สังคมศึกษา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ การงานอาชีพ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ศิลปศึกษา ๒ ๓ ๔ ๖ ๘ ภาษาต่างประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ อนุมัติ ชมรม/ชุมนุม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ โครงการ/กิจกรรม

รูปแบบที่ ๓ ครูประจำชั้นหรือครูประจำวิชาประเมิน กระบวนการปลูกฝังผ่านกลุ่มสาระและกิจกรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ภาษาไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ครูประจำชั้นสรุประดับคุณภาพ ตามสภาพจริง คณิตศาสตร์ ครูประจำชั้น/ครูประจำวิชา ประเมิน/ร่วมประเมินนักเรียนทุกคน ทุกคุณลักษณะ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา/พละ สังคมศึกษา อนุมัติ การงานอาชีพ ศิลปศึกษา ภาษาต่างประเทศ ชมรม/ชุมนุม ครูผู้รับผิดชอบ พัฒนาและประเมิน โครงการ/กิจกรรม

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือฯผู้บำเพ็ญฯ - ชุมนุม/ชมรม กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ เกณฑ์การประเมิน ๑. เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม ๒.การปฏิบัติกิจกรรม ๓. ผลงาน/ชิ้นงาน ตามเกณฑ์ ไม่ตามเกณฑ์ ประเมิน ไม่ผ่าน ซ่อมเสริม ผ่าน ส่งผลการประเมิน

เกณฑ์การผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดเกณฑ์คุณภาพ : ผ่าน/ไม่ผ่าน กำหนดประเด็นการประเมินให้สอดคล้องจุดประสงค์แต่ละกิจกรรม /เกณฑ์ผ่านการประเมิน เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินรายกิจกรรม ผ่าน : ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ และปฏิบัติกิจกรรมและผลงานผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่ผ่าน : ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ หรือไม่ผ่านปฏิบัติกิจกรรมและผลงานผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินในแต่ละภาค/ปี ผ่าน : ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทั้ง ๓ กิจกรรม ไม่ผ่าน : ผู้เรียนมีผลการประเมินไม่ผ่านกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งจาก ๓ กิจกรรม

เกณฑ์การผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินเพื่อจบระดับการศึกษา ผ่าน : ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับผ่านทุกชั้นปีในระดับการศึกษานั้น ไม่ผ่าน : ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับไม่ผ่านบางชั้นปีในระดับการศึกษานั้น

ภาคเรียนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย การรายงานผลการเรียน ต้องสรุปผลการเรียนรายงานให้ผู้ปกครองทราบความก้าวหน้า เป็นระยะ ๆ หรือ ภาคเรียนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย

เป็นเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ หวังจะได้เห็นทุกท่าน เป็นเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ

พร้อมที่จะแตกหน่อ

และแพร่พันธ์อย่างงดงาม

ขอให้ประสบความสำเร็จ ในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน เพราะนั่นคือ คามสำเร็จ ในวิชาชีพครู

สวัสดี