แก้ไขปัญหาที่เกิดขั้นบนเครือข่าย บทที่ 6 การตรวจสอบและ แก้ไขปัญหาที่เกิดขั้นบนเครือข่าย
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. สามารถสร้างสายแลนชนิด RJ-45 ได้ด้วยตัวเอง 2. เข้าใจหลักการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป 3. สามารถติดตั้งเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ปบน Windows-XP ได้ 4. สามารถนำความรู้การติดตั้งเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ปไป ประยุกต์ใช้งานจริงได้อย่างเหมาะสม
การตรวจสอบอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ปัญหาที่เกิดขึ้นกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ถูกติดตั้งไม่ดีพอจะทำ ให้ไม่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้ โดยในเบื้องต้นในที่นี้จะ ดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์การ์ดเครือข่าย และอุปกรณ์อย่างฮับ และสายแลน เป็นต้น
ตรวจสอบการ์ดเครือข่าย 1. ที่เดสก์ทอปให้คลิกขวาที่ไอคอน my computer แล้วเลือกรายการ properties 2. คลิกที่แท็บ hardware 3. คลิกที่ปุ่ม device manager
ตรวจสอบการ์ดเครือข่าย 4. ตรวจอุปกรณ์การ์ดเครือข่ายหากพบเครื่องหมายตกใจหมายความว่าพบปัญหาเบื้องต้นที่การ์ดเครือข่ายแล้ว 5. คลิกขวาที่ชื่อการ์ดเครือข่ายนั้นแล้วเลือกรายการ properties 6. คลิกที่แท็บ diver 7. คลิกปุ่ม update driver
ตรวจสอบการ์ดเครือข่าย 8. ทดลองติดตั้งด้วย wizard ก่อน ดังนั้นให้เลือกรายการ yes, this time only แล้ว ตามด้วยปุ่ม next 9. กำหนดให้เครื่องค้นหาอัตโนมัติ ด้วยการเลือกรายการ install the software automatically และตามด้วยปุ่ม Next 10. เครื่องกำลังดำเนินการค้นหาเพื่ออัพเดทไดร์เวอร์การ์ดเครือข่าย
ตรวจสอบการ์ดเครือข่าย 11. ได้อัพเดตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม finish 12. จากนั้นให้คลิกปุ่ม close 13. ได้ติดตั้ง / อัพเดตไดร์ฟเวอร์การ์ดเครือข่ายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว 14. คลิกขวาที่ชื่อการ์ดเครือข่าย แล้วเลือกรายการ properties
ตรวจสอบการ์ดเครือข่าย 15. พบว่าการ์ดเครือข่ายอยู่ในสถานะพร้อมใช้งาน 16. คลิกที่แท็บ Resources 17. พบว่าการ์ดเครือข่ายไม่ได้ Conflicts กับอุปกรณ์ใดๆนั้นหมายความ ว่าการ์ดเครือข่ายพร้อมใช้งาน
ตรวจสอบสายแลน ให้ดำเนินการตรวจสอบสายแลนว่าเสียบเข้าไปในเครื่องเรียบร้อยหรือยัง รวมถึงสายแลนที่ใช้เชื่อมต่อจะต้องอยู่ในสถานะพร้อมใช้งาน และหากเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เพียงสองเครื่องสายแลนจะต้องเป็นชนิดสายไขว้
ตรวจสอบอุปกรณ์ฮับหรือสวิตช์ ในกรณีที่เครือข่ายใช้ฮับหรือสวิตส์ ให้ดำเนินการตรวจสอบว่าอุปกรณ์ใช้ฮับหรือสวิตส์ เสียบปลั๊กไฟหรือยัง รวมถึงปลั๊กสายแลนว่าเชื่อมต่อลงในแต่ละพอร์ตแน่นหรือไม่ 19. ตรวจสอบว่าฮับหรือสวิตส์เสียบปลั๊กไฟหรือยัง รวมถึงปลั๊กสายแลนว่าเชื่อมต่อลงในแต่ละพอร์ตแน่นหรือไม่
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง 1. เข้าไปที่ network connections หากเป็นไปดังรูป แปลว่ายังไม่ได้เสียบสานแลน ให้ดำเนินการเสียบสายแลนเพื่อเชื่อมต่อ 2. หากไอคอนมีสัญลักษณ์เป็นเครื่องหมายตกใจ แปลว่าเชื่อมต่อไม่ได้ จะต้องมีการติดตั้งค่าใหม่
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง 3. ให้คลิกขวาแล้วเลือกรายการ properties 4. ตรวจสอบการคลิกเครื่องหมายถูก โดยให้คลิกตามรูป จากนั้นคลิกรายการ internet protocol แล้วกดด้วยปุ่ม OK
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง 5. กรอกชุดหมายเลขไอพีลงไป ซึ่งจะต้องกำหนดตัวเลขให้ตรงกลุ่มกัน เช่น 192.168.0 ส่วนตัวเลขสุดท้ายคือหมายเลขสุดท้ายคือหมายเลขประจำเครื่อง ซึ่งต้องมีค่าแตกต่างกัน โดยในที่นี้กำหนดเป็นหมายเลข 5 และซับเน็ตคือ 255.255.255.0 เหมือนกันทุกเครื่อง แล้วตามด้วยปุ่ม OK 6. คลิกเครื่องหมายถูกตรงเซ็กบ็อกซ์ show icon in notification area when connected แล้วตามด้วยปุ่ม ok
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง 7. เครื่องได้เชื่อมโยงเข้าเครือข่ายแล้ว 8. ไอคอนได้เปลี่ยนเป็นดังรูป ซึ่งหมายความว่าเชื่อมโยงเครือข่ายแล้ว 9. ไปที่ทาสก์บาร์ดับเบิลคลิกที่ ดูตรงข้อความที่ลูกศรชี้จะเห็นได้ว่าเชื่อมต่อจริงที่ความเร็ว 100 Mbps 10. คลิกที่แท็บ support แล้วดูที่ลูกศรชี้ ก็จะพบหมายเลขไอพีแอดเดรสของเครื่อง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง 11. จากนั้นให้ทดลองใช้คำสั่ง ping เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อกับเครื่องอื่นหากเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางได้ก็จะมีการตอบรับกลับมาดังรูป 12. หากมีการตอบรับกลับมาเป็น time out หมายความว่าเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางไม่ได้ ให้กลับไปตรวจสอบขั้นตอนที่ 1 ใหม่อีกครั้ง
การตรวจสอบการติดตั้งค่าในเวิร์กกรุ๊ป 1. ขั้นตอนแรก ให้ตรวจสอบไฟว์วอลล์ก่อน ไปที่ control panel ดับเบิลคลิกที่ไอคอน windowe firewall หากติดตั้งค่าแล้ว สามารถข้ามไปขั้นตอนที่ 5 ได้เลย 2. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ windowe firewall ดังรูป 3. คลิกที่แท็บ exceptions 4. คลิกเครื่องหมายถูกที่ file and printer sharing แล้วตามด้วยปุ่ม OK
การตรวจสอบการติดตั้งค่าในเวิร์กกรุ๊ป 5. เข้าไปที่ my places แล้วคลิกที่รายการ view workgroup computers หากพบว่าเครื่องเราอยู่โดดๆ ไม่พบเครื่องอื่นๆ เลย ในขณะที่เครื่องอื่นพบสมาชิกในเครือข่ายให้สันนิษฐานเบื้องต้นว่ากรอกชื่อเวิร์กกรุ๊ปไม่ตรงกัน ซึ่งพบว่ากรอกชื่อผิดเป็น STAAF ที่ถูกต้อง STAAF 6. แก้ไขใหม่ด้วยการคลิกขวาที่ไอคอน my computer แล้วเลือกรายการ properties
การตรวจสอบการติดตั้งค่าในเวิร์กกรุ๊ป 7. คลิกที่แท็บ Computer Name 8. คลิกปุ่ม Change 9. กรอกชื่อเวิร์กกรุ๊ปให้ถูกต้อง 10. แสดงข้อความเข้าสู่เวิร์กกรุ๊ป 11. แล้วบูตเครื่องใหม่
การตรวจสอบการติดตั้งค่าในเวิร์กกรุ๊ป 12. เข้าไปที่ my network places แล้วคลิกที่ view workgroup computers ก็จะพบเครื่องอื่นๆที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายบนเวิร์กกรุ๊ป STAFF
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ