การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ วิทิต รุ่นประพันธ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี
การรับบุคคลเข้าศึกษา ปฏิรูปหลักสูตร การประเมินสถานศึกษา ปฏิรูปการเรียน การสอน คุณภาพผู้เรียน (ผลสัมฤทธิ์ การประเมินวิทยฐานะ และความก้าวหน้าใน วิชาชีพครู การทดสอบ/ วัดและประเมินผล ผู้เรียน การรับบุคคลเข้าศึกษา ต่อมหาวิทยาลัย
พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับ ระดับสากล และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ นโยบาย/จุดเน้น 1. ผลักดันนำการใช้กรอบคุณวุฒิ วิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพตาม กรอบคุณวุฒิแห่งชาติเป็นกลไก กำหนด และรับรองทักษะ ความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ สอดคล้องกับความต้องการ และทิศทางการพัฒนาประเทศ
นโยบาย/จุดเน้น 2. พัฒนาการเรียนการสอน อาชีวศึกษา (เป้าหมายปรับสัดส่วน ผู้เรียนสายอาชีวศึกษาต่อสายสามัญเป็น 50 : 50) โดยขยายระบบทวิภาคีร่วมกับ ภาคการผลิตและสถานประกอบการมาก ขึ้น มีมาตรฐานการจูงใจให้เอกชนเข้า มามีส่วนร่วมพัฒนาสถานศึกษาลักษณะ ทวิภาคี
แนวทาง/กระบวนการขับเคลื่อน 1. เพิ่มคุณภาพและปริมาณผู้เรียน อาชีวศึกษา โดยสร้างความเปลี่ยนแปลง ในด้านคุณสมบัติของผลผลิตที่มุ่งเน้น มาตรฐานฝีมือแรงงาน ด้านหลักสูตร สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ด้านครูผู้สอน ด้านแหล่งความรู้ ที่มีทั้ง โรงงานในสถานศึกษา และมี สถานศึกษาในโรงงาน และด้านการ จัดการให้เป็นไปในลักษณะ Public Private Partnership
แนวทาง/กระบวนการขับเคลื่อน 2. เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา ต่อผู้เรียนสายสามัญศึกษาเป็น 51 : 49 ภายใน 2 ปีข้างหน้า 3. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาอาชีวศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2558
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 1. เชิญผู้มีความรู้ความชำนาญ ร่วมกำหนดความชัดเจนประเด็น สำคัญของการปฏิรูปอาชีวศึกษา ระบบกระบวนการ ผู้รับผิดชอบและ การติดตามประเมินผล 2. ผลักดันร่างกฎหมายส่งเสริม ความร่วมมือระดับทวิภาคี ระหว่าง สถานประกอบการกับสถานศึกษา อาชีวะ
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 3. ศึกษาข้อมูลจากความต้องการ ของหน่วยงานผู้ใช้แรงงานเพื่อ กำหนดสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา และแนวทางการดำเนินงาน วิธีการ เครื่องมือและทรัพยากรที่ใช้ผลักดัน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4. วางแผนผลิตนักศึกษาแต่ละ วิชาตามความต้องการของหน่วยงาน ผู้ใช้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ บนพื้นฐานสัดส่วนสาขาวิชา และ เป้าหมายควบคุมการผลิตที่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 5. กำหนดกลยุทธ์ผลักดันสัดส่วน ผู้เรียนอาชีวะต่อสามัญ (51 : 49) ภายในปี 2558 ให้สำเร็จโดย ระยะแรกผลักดันเรื่อง Vocational Qualification : VQ ให้สำเร็จ 6. กลุ่มนักเรียนที่ออกกลางคัน กลุ่มนักเรียนขยายโอกาส เป็น กลุ่มเป้าหมายเข้ามาเรียนสายอาชีวะ 7. กำหนดกลยุทธ์พัฒนา อาชีวศึกษามุ่งเน้นปฏิบัติในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายเล็ก ๆ เพื่อเป็น ต้นแบบที่ดีและขยายผลเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 8. ปรับปรุงระบบการศึกษา อาชีวศึกษามุ่งเน้น Human Quality มากกว่า Function Quality 9. กำหนดกลไกการจัดการศึกษา อาชีวศึกษาที่เป็นเอกภาพ ด้วยความ ร่วมมือระหว่าง สอศ., สช. และ ภาคเอกชน 10. ปรับปรุงโครงสร้างการจัดการ อาชีวศึกษาเป็นองค์กรเดียวที่กำกับ ดูแลทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อความ เป็นเอกภาพและดำเนินการได้ทั้งระบบ
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 11. ทบทวนมาตรฐานผู้สำเร็จ อาชีวศึกษา เน้นนักศึกษาเป็นผู้มี AQ สูง มีความอดทน รวมไปถึงการ เชื่อมโยงการประกันคุณภาพ สถานศึกษา 12. ปรับภาพลักษณ์อาชีวศึกษา จาก Vocational Education เป็น Career Education 13. ประสานสื่อมวลชนเป็นภาคี ขับเคลื่อนส่งเสริมภาพลักษณ์ อาชีวศึกษา
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 14. กำหนดแนวทางวิธีการดึงผู้เรียน นอกระบบเข้ามาเรียนสายอาชีวศึกษา เช่น สร้างภาพลักษณ์ “เรียนดี แล้วมีงานทำ” และเชื่อมโยงกับคุณวุฒิวิชาชีพที่ ภาคเอกชนกำหนด 15. ปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยสร้างความ ร่วมมือกับ สมศ. และ สทศ. 16. ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย หลักเกณฑ์/เงื่อนไขการบรรจุครูสาขาช่าง อาชีพ ใบประกอบวิชาชีพครูความมั่นคง ทางอาชีพของครูอาชีวศึกษาที่ยังเป็นครู อัตราจ้าง โดยประสานความร่วมมือกับคุรุ สภา
ข้อเสนอแนะจากการประชุมฯ จ. ชลบุรี 17. การบริหารงบประมาณโดย จัดสรรไปที่ปลายทางแบบมีเป้าหมาย ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน อาชีวะที่ชัดเจน 18. การแลกเปลี่ยน/การให้ความ ช่วยเหลือทางวิชาการกับหน่วยงาน ภาครัฐไปสู่สถานศึกษาอาชีวศึกษา เอกชน
สวัสดี