ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Educational Policies.
นโยบาย สพฐ. ปี
From Change to Forward.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
ในการพัฒนาการศึกษา เน้น “ ความเท่าเทียมกัน ” และ การนำ “ เทคโนโลยี ” มาใช้ใน การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน “ ที่มีคุณภาพ สำหรับเยาวชนทุกคน ทุกพื้นที่ ”
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556

วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล และสูงเทียบเท่าค่าเฉลี่ยของโลก ภายในปี 2563 รวมทั้งลดช่องว่างของโอกาสและคุณภาพการศึกษา

จัดและส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภารกิจ

เป้าประสงค์ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ

กลยุทธ์ 2556 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและลดความเหลื่อมลํ้า พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

ข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียน = 31,116 โรงเรียน นักเรียน = 7,453,481 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา = 422,522 คน

งานที่ตอบสนองนโยบายของ รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายกระทรวง • เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผู้ศึกษา • การสร้างโอกาสทางการศึกษา • การนำสันติสุขสู่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ • การแก้ไขปัญหายาเสพติด • โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย

นโยบายกระทรวง (ต่อ) การวิจัย การผลักดันการปฏิรูปการเมืองเพื่อให้มีรัฐธรรมนูญของประชาชน การบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผู้ศึกษา นโยบาย ข้อที่ 1 • พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ • จัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

“Teach much, but learn less” “Teach less, and learn more”

Jigsaw ของภาพปฏิรูปการศึกษา Management T/L ICT Curriculum Management Management Homework/Assignment Assessment Management

โครงสร้างเวลา การบูรณาการ Flip Classroom

Flipped Class 101 Flipped Classroom

ประชาคมอาเซียน

ประชาคม อาเซียน โครงสร้างประชาคมอาเซียนและพันธกรณี ความเป็นมาและความเกี่ยวข้องด้านการศึกษา พัฒนาการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ร่วมมือ ป้องกันทางทหาร สร้างความมั่นคงอาเซียน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ และแข็งแกร่ง ประชาคม การเมืองและ ความมั่นคง APSC ประชาคม เศรษฐกิจ AEC 1. ตลาด-ฐานการผลิตเดียว/เสรีการค้า-การลงทุน- การเลื่อนไหลของแรงงานฝีมือ 2. ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน 3. มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และ 4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) ประชาคม สังคมและ วัฒนธรรม ASCC พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคม ผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ข้อกำหนดสำคัญในกฎบัตรอาเซียน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาการทำงาน ข้อเสนอร่วมด้านการเรียนการสอน พัฒนาการเรียนการสอนด้วย ASEAN Curriculum ข้อตกลง AEC ด้านการเลื่อนไหลแรงงาน แรงงานฝีมือ 7 สาขาอาชีพ (วิศวกร/สถาปนิก/ช่างสำรวจ /แพทย์/ทันตแพทย์/พยาบาล/นักการบัญชี) +32 ตำแหน่งงาน

ยุทธศาสตร์ สพฐ. 2556-2560 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน 1. ยกระดับคุณภาพการเรียนตามหลักสูตรฯ 3. กำหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับ 8 กลุ่มวิชา โดยเน้นวิทย์/คณิต/สังคมศึกษา อาเซียนและศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการศึกษา 2. จัดการเรียนการสอนหลักสูตรร่วมอาเซียนโดย ภาคบังคับ เพื่อประกอบอาชีพในตลาดแรงงาน บูรณาการกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. เพิ่มความเข้มแข็ง/จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษาในร.ร. 1 พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/คุณลักษณะที่สำคัญ (วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/สังคมศาสตร์) 2 พัฒนาศักยภาพด้านภาษา(ไทย/อังกฤษ/ อาเซียน และภาษา ตปท. คู่ค้า) 3 พัฒนาบุคลากรทุกฝ่าย ผู้บริหาร (สพป./ สพม./ร.ร.) ครู และบุคลากรทางการศึกษา 4 เพิ่มขีดความสามารถในการใช้ ICT ในการเรียน-การสอน 5. พัฒนาโครงการความร่วมมือในอาเซียน (ระดับบริหาร/นักปฏิบัติ/นร.) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษา ตปท. อื่นๆ 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ และแก้ปัญหาการ อ่านออกเขียนได้ 2. พัฒนายกระดับ คุณภาพครูและ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมขององค์กร ภาครัฐและเอกชน ฝึกทักษะการสื่อสารของนร./นศ./ครู/ บุคลากรทางการศึกษา 2. พัฒนาศักยภาพครู/จัดหาครูเจ้าของภาษา 3. พัฒนาการเรียนการสอนในและนอกระบบ ร.ร./พัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 4. ส่งเสริมการเรียนวิชาต่างๆด้วยภาษาอังกฤษ 5. สร้างเครือข่ายทั้งในและตปท. 6. กำหนดให้ภาษาอังกฤษใช่ในการสำเร็จ การศึกษา/เข้าสู่อาชีพ/เลื่อนระดับ 1. พัฒนาการเรียนการสอน ภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และ ภาษาอาเซียน 2. พัฒนา/สร้างครูไทย./จัดหาครู เจ้าของภาษา 3. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้ แสดงความสามารถทางภาษา ในเวทีสาธารณะทั้งในและตปท. 1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาบุคลากรให้รอบรู้และติดตามความเคลื่อนไหวของอาเซียนและสังคมโลก 3. ใช้คุณสมบัติ 1-2 ประกอบการพิจารณาให้รางวัล/เลื่อนระดับ 1. พัฒนาhardware/software/people-ware 2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/เชื่อมโยงความรู้สากลด้วย ICT 3. ผลิตและส่งเสริมการใช้สื่อความรู้ระบบ digital และ e-learning 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันและ ด้วยโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ หน่วยงานทั้งในและนอกอาเซียน 3. ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้ นร./ครูได้ 2. พัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหาร/ครู/นร. แสดงศักยภาพในเวทีระหว่างประเทศ พัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 1. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ระดับโรงเรียน/ พื้นที่/) 2. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับทุนวิจัยที่เกี่ยวกับอาเซียน 6. 1. จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (ระดับสพฐ. และพื้นที่ ) 4. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆ 2. พัฒนาวิทยากรแกนนำด้าน ASEAN / 5. ASEAN Watch – กำกับติดตาม วิจัย และพัฒนา พัฒนาบุคลากรด้านต่างๆ จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการอาเซียน 7. 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน

Two Common Ideologies Raising Educational quality Making Education a driving force for developments

Strategies to improve Education system 5 main areas: Student characteristics Curriculum and teaching qualifications Teacher qualifications School characteristics Management style

Guideline and Standards set for Student characteristics: Being academically excellent Communicable in two languages Developing analytical thinking skills Increasing productivity creatively Having the skills to participate effectively in society

(Being academically excellent) (Communicable in two languages)

(Developing analytical thinking skills) (Increasing productivity creatively)

(Participate effectively in society)

FIVE STEPS FOR STUDENT DEVELOPMENT PUBLIC SERVICE EFFECTIVE COMMUNICATION KNOWLEDGE FORMATION KNOWLEDGE SEARCHING HYPOTHESIS FORMULATION Learning to serve Learning to communicate Learning to construct Learning to search Learning to question

แนวทางการดำเนินงาน

เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผู้ศึกษา พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ดำเนินงานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติและนานาชาติ (O-NET, NT, PISA และ TIMSS) เตรียมความพร้อมการศึกษาไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สถานีโทรทัศน์การศึกษาขั้นพื้นฐาน OBEC Channel

การสร้างโอกาสทางการศึกษา นโยบาย ข้อที่ 2 • สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษา • การแก้ปัญหาเด็กตกหล่น ออก กลางคันและไม่เรียนต่อ • จัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการและ ผู้ด้อยโอกาส • การจัดการศึกษาแก่เด็กที่มี ความสามารถพิเศษ • จัดการศึกษาทางเลือก

การนำสันติสุขสู่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบาย ข้อที่ 3 ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่งเสริมการสอนพระพุทธศาสนา ในโรงเรียน ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน อิสลามศึกษาในโรงเรียน

การนำสันติสุขสู่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบาย ข้อที่ 3 สนับสนุนโรงเรียนคู่ขนานศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) • เสริมสร้างศักยภาพผู้เรียนเพื่อศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา • ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ระบบสองภาษา (ไทย-มลายูถิ่น) ฯลฯ

การแก้ไขปัญหายาเสพติด นโยบาย ข้อที่ 4 1. คัดกรอง ค้นหาผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้า ยาเสพติด และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 2. แก้ไขพฤติกรรม เยาวชนที่มี พฤติการณ์เสพยา 3. สร้างภูมิคุ้มกัน โดยพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

การแก้ไขปัญหายาเสพติด นโยบาย ข้อที่ 4 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในวันต่อต้านยาเสพติด 5. ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข ดำเนินโครงการ To Be Number One

โครงการแท็บเล็ตพีซี เพื่อการศึกษาไทย นโยบาย ข้อที่ 5 1. จัดส่งเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาให้โรงเรียน 2. จัดเตรียมหลักสูตรและเนื้อหา เอกสาร คู่มือ การใช้งาน รวมทั้งแผนการสอน 3. เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร 4. พัฒนาโครงข่าย ICT

การวิจัย นโยบาย ข้อที่ 6 • ร่วมมือกับ TDRI เพื่อปรับระบบการจัดการศึกษาของไทยที่เอื้อต่อ การสร้างความรับผิดชอบในระบบการประเมินผลโรงเรียนและครู • วิจัยและพัฒนาร่วมกับ ม. ธรรมศาสตร์ ในเรื่องการคิดสูตรจัดสรร งบประมาณให้โรงเรียนและเขตพื้นที่ • วิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนสู่ความเป็นเลิศ

การผลักดันการปฏิรูปการเมือง เพื่อให้มีรัฐธรรมนูญของประชาชน นโยบาย ข้อที่ 7 • จัดทำเอกสารการจัดการเรียนรู้เพื่อความเป็นพลเมือง • จัดทำหลักสูตรค่ายสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพเด็กไทย : การศึกษาเพื่อความเป็นไทย และความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย • อบรมผู้จัดการค่ายสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพเด็กไทย : การศึกษาเพื่อความเป็นไทย และความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย

การบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ นโยบาย ข้อที่ 8 จัดสรรงบประมาณโดยใช้สูตรการจัดสรรงบประมาณ เพื่อสร้างความเสมอภาค เป็นธรรมในการได้รับงบประมาณ ประกอบด้วย ปริมาณงาน คุณภาพของงาน ความทุรกันดาร ฐานะทางเศรษฐกิจและลักษณะพิเศษอื่นๆ

ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี นโยบาย ข้อที่ 9 • ประกาศนโยบายเกี่ยวกับความโปร่งใสและตรวจสอบได้ • จัดทำเอกสารประมวลจริยธรรม ในการส่งเสริมให้ข้าราชการพลเรือน พนักงานราชการ ลูกจ้างในสังกัด สพฐ. มีมาตรฐานด้านจริยธรรม คุณธรรมฯลฯ • จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความ โปร่งใสในการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ก.พ.ร. ตามนโยบายของรัฐบาล

ขอให้ผู้บริหารทุกท่าน เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาไทย สู่มาตรฐานสากล ขอให้ผู้บริหารทุกท่าน เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาไทย สู่มาตรฐานสากล