งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 30 มิถุนายน 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
Service Plan สาขา NCD.
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นางสาว ไซนับ สามอ รหัส นางสาว ริฟฮาน ยานยา รหัส
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
พล.ต.ต.บุญเลิศ ใจประดิษฐ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เปรียบเทียบประมาณการค่าใช้จ่ายตามแผนต่อเดือน กลุ่มที่ 1 รพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุข อำเภอแก้งคร้อยุคใหม่
การบันทึกข้อมูล EPI และแพทย์แผนไทย
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
สรุปข้อมูลตัวชี้วัด งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สสจ.เลย
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
กีฬาสาธารณสุขสัมพันธ์ “รักเลย รักสุขภาพ” ครั้งที่ 2/58
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
สาขาโรคมะเร็ง.
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
การจัดทำฐานข้อมูล อสม.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผน ไทย ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ วัชรี แก้วสา งานการแพทย์แผนไทย สสจ. เลย.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การพัฒนาคลังข้อมูลสุขภาพ จังหวัดเลย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ติดตามความก้าวหน้า LTCLink จังหวัดเลย. แผนการดำเนินงานจังหวัดเลย ปี 57 กิจกรรม ต. ค. 56 พ. ย. 56 ธ. ค. 56 ม. ค. 57 ก. พ. 57 มี. ค. 57 เม. ย. 57 พ. ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 30 มิถุนายน 2557 สรุปการดำเนินงาน ICT งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 30 มิถุนายน 2557

ระบบการเงิน OPD Paperless เวปไซต์หน่วยบริการ TAKIS Datacenter ช้างโปรเจค

ระบบการเงิน

ทุกโรงพยาบาลในจังหวัดเลย ยกเว้น รพ.ท่าลี่ (อยู่ในระหว่างดำเนินการ) สามารถออกใบเสร็จจากโปรแกรม HOSxP และสามารถจัดทำรายงานการเงิน ผ่านโปรแกรม HOSxP ได้แล้ว

ปัญหาที่พบ การออกแบบระบบการเงินของแต่ละ รพ. ไม่เหมือนกันมาตั้งแต่ต้น การออกแบบระบบการเงินของแต่ละ รพ. ไม่เหมือนกันมาตั้งแต่ต้น หากเมื่อก่อนมีการออกใบเสร็จเขียว แล้วเปลี่ยนมาเป็นใบเสร็จจากโปรแกรม จะเกิดข้อมูลสถานะลูกหนี้ ต้องบันทึกทีละคนให้มาเป็นจ่ายเงิน รายงานทางการเงิน ที่ทางการเงินต้องการยังไม่นิ่ง มีการปรับอยู่ตลอด ทำให้เสียเวลาในการจัดทำ Report ในโปรแกรม

OPD Paperless

ระบบการทำงานแบบเดิม

ระบบการทำงานแบบใหม่ (Paperless)

ระบบที่ใช้ บริษัท คอนเซบ โซลูชั่น รพ.เลย บริษัท คอนเซบ โซลูชั่น รพ.เลย บริษัท โกทูวิน โซลูชั่น รพร.ด่านซ้าย นาด้วง เชียงคาน วังสะพุง และ เอราวัณ โรงพยาบาลภูกระดึง รพ.ภูกระดึง ภูเรือ ผาขาว หนองหิน โรงพยาบาลที่อยู่ในระหว่างดำเนินการ ท่าลี่ ปากชม นาแห้ว และภูหลวง

ปัญหาที่พบ บางโรงพยาบาล แพทย์ยังไม่บันทึกข้อมูลในโปรแกรม ทำให้ข้อมูลบางส่วนยังอยู่บนกระดาษ บุคลากรบางส่วนยังขาดความเข้าใจเรื่องการเรียกดูประวัติการรักษาพยาบาล หน่วยบริการสแกนเอกสารไม่ทัน เอกสารบางส่วนเก่าเกินจะเข้าเครื่องสแกนได้

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข อบรมการใช้งานของบุคลากรในหน่วยงาน (อย่างน้อย 3 เดือน/ครั้ง) ให้บริการไปก่อน แล้วเมื่อ OPD Card กลับมาที่ห้องบัตรจึงทำการสแกนเก็บ จัดทำแผนการสแกนโดยเริ่มจากปีปัจจุบันย้อนหลังไปเรื่อย ๆ ควรมีเครื่องสแกนอย่างน้อย 2 เครื่อง เพื่อความต่อเนื่องในการใช้งาน ควรดูแล ทำความสะอาดเครื่องสแกนทุกวัน

เวปไซต์หน่วยบริการ

สภาพปัญหา หน่วยงานระดับอำเภอและตำบล ส่วนใหญ่ ยังไม่มี website เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงาน

เนื้อหาในเวปไซต์ที่ต้องจัดทำ ภาพถ่ายของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ของหน่วยงาน พร้อมรายละเอียดบุคคล ภาพถ่ายสิ่งก่อสร้าง แผนที่หน่วยบริการ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในพื้นที่ 5 ลำดับ แผนชุมชน ข่าวประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับหน่วยงาน

การดำเนินงาน งาน ICT จัดอบรมการจัดทำเว็บไซด์ของ หน่วยบริการ เมื่อวันที่ 22-23 พ.ค. 2557 โดยมีผู้ดูแลระบบของ รพ. และ สสอ. เข้ารับการอบรม ยกเว้น รพ.ภูกระดึง หนองหิน และ สสอ.นาแห้ว งาน ICT จัดทำช่องทางการ Link ไปยังเวปไซต์ของหน่วยบริการไว้ที่ เว็บไซด์ สสจ.เลย www.lo.moph.go.th ---> เมนูรอบรั้ว สสจ.

www.lo.moph.go.th ---> เมนูรอบรั้ว สสจ. หรือ http://203.157.173.9/myweb/

สิ่งต้องดำเนินการต่อไป รพช./สสอ. จัดอบรมให้ รพ.สต. ภายในอำเภอ เพื่อให้ รพ.สต. สามารถจัดทำ เว็บไซด์ของสถานบริการตนเองได้ (อ.เชียงคาน และวังสะพุง ดำเนินการแล้ว) หน่วยบริการแต่ละแห่ง กำหนดผู้รับผิดชอบ และดำเนินการปรับปรุง/นำเสนอข่าวสารประชาสัมพันธ์หน่วยงานของแต่ละแห่งอย่างเป็นปัจจุบัน

Takis Datacenter

การดำเนินงาน 31 มีนาคม 2557 ดำเนินการขึ้นระบบ Takis Datacenter และลงโปรแกรม ลูกข่ายเพื่อดึงข้อมูลมายัง Datacenter ครอบคลุมทุกสถานบริการ เมษายน 2557 ติดตามและตรวจสอบ ผลการส่งข้อมูลระหว่างสถานบริการ Datacenter

ปัญหาในการดำเนินงาน Hardware ในระดับจังหวัดยังไม่สามารถรองรับระบบ Takis Datacenter ได้เต็มรูปแบบ สถานบริการบางแห่ง โดยเฉพาะพื้นที่ ที่ใช้ระบบอินเตอร์เน็ท IPSTAR ยังมีปัญหาในการส่งข้อมูล Hardware ในระดับแม่ข่ายจังหวัด (รพ.เลย) ยังไม่สามารถรองรับและเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Hard disk เต็ม) ทำให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากสถานบริการต่างๆได้

ปัญหาในการดำเนินงาน (ต่อ) ทีมงานผู้ดูแลระบบในระดับจังหวัด ยังขาด องค์ความรู้ในการบริหารจัดการระบบโปรแกรม Takis Datacenter และเขียนรายงาน

การแก้ไขปัญหา/ดำเนินการต่อไป เชิญผู้เขียน Takis เป็นวิทยากร อบรมการจัดการโปรแกรมและการเขียนรายงาน Takis Datacenter ในวันที่ 26-30 พ.ค. 57 ให้แก่ผู้ดูแลระบบระดับจังหวัด และช่วยแก้ไขปัญหา Takis datacenter จ.เลย โดยปรับปรุงเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล ของระบบ Takis Datacenter ใหม่ (เป็นการแก้ปัญหาเบื้องต้นเท่านั้นเนื่องจาก Hardware ยังไม่เพียงพอ)

2. ดำเนินการเปิดรับชุดข้อมูลมาตรฐาน 43 แฟ้ม จากสถานบริการในสังกัด - ระดับโรงพยาบาล ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 4 ก.ค. 57 (ปัจจุบันคงเหลือ รพ.ท่าลี่ และ รพ.นาแห้ว และ รพ.หนองหิน ข้อมูล ณ 27 มิ.ย. 57) - ระดับ รพ.สต. ดำเนินการ 5 – 31 ก.ค. 57 3. ติดตามและแก้ปัญหาที่เกิดจากการดึงข้อมูลอัตโนมัติระหว่างสถานบริการกับระบบ Takis Datacenter ระดับจังหวัด โดยการประชุมทางไกล (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)

4. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และอุปกรณ์ (Hardware) เพื่อให้เพียงพอแก่ความต้องการของระบบโปรแกรม 5. จัดหาระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อในการส่งข้อมูลระหว่างสถานบริการกับจังหวัด เพิ่มอีก 1 ช่องทาง (leadline speed 10M/10M) 6. ประสานงานกับเครือข่ายระดับ สสจ. ที่ขึ้นระบบ Takis Datacenter เรียบร้อยแล้ว (สสจ.ตาก และ สสจ.สงขลา) เพื่อการพัฒนาและใช้งานระบบฯ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 7. นำเสนอข้อมูล (report) จาก Takis Datacenter เพื่อแสดงผลงานของ สถานบริการ

Link monitor takis datacenter เว็บไซด์สสจ. เลย www. lo. moph. go Link monitor takis datacenter เว็บไซด์สสจ.เลย www.lo.moph.go.th ---> รวมlinkงาน ICT ---> LOEI Takis DataCenter 1 2

ช้างโปรเจค

ที่มา เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดย รพร.ด่านซ้าย ใช้ในการเชื่อมต่อข้อมูลของโรงพยาบาลและ รพ.สต. ในอำเภอเดียวกัน

จุดเด่นของ ช้างโปรเจค ดูประวัติการรักษาของผู้ป่วยได้ ดูประวัติทางเวชระเบียนได้ ดูค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยแต่ละครั้งที่มารับบริการได้ ดูผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และ NCD ได้ ดูข้อมูล ปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี ได้ ดูข้อมูลผู้ป่วยสุขภาพจิตได้

ทั่วไป

Patient EMR

การแพ้ยา (Drug allergy)

รายการค่ารักษา

การคัดกรอง Screen

ข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และ NCD

การดำเนินการในปัจจุบัน ทดสอบใช้ใน 3 โรงพยาบาล คือ รพร. ด่านซ้าย รพ. ภูเรือ รพ. จิตเวชเลยราชนครินทร์

ปัญหาที่พบ เมื่อนำไปติดตั้งที่หน่วยบริการอื่นไม่สามารถใช้งานได้ เพิ่มผู้ใช้งานแล้ว ระบบไม่บันทึก ปัญหาของเวอร์ชั่น mysql + php บางโรงพยาบาลความเร็วของอินเตอร์เน็ตยังไม่เพียงพอ และไม่มี IP จริง ข้อมูลเกี่ยวกับงานส่งเสริม ยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์

แนวทางการแก้ไข อบรมการติดตั้งใช้งานโปรแกรม แก่โรงพยาบาลต่าง ๆ เพิ่มความเร็วของอินเตอร์เน็ตของโรงพยาบาลให้เพียงพอ (Upload ไม่ควรน้อยกว่า 1 Mbps) หากเป็นไปได้ให้จัดหาอินเตอร์ที่เป็น IP จริง