โรงเรียนอนุบาลควนขนุน “ประสานพลัง สรรค์สร้างศรัทธา มุ่งวิชาการ”
โรงเรียนดีประจำตำบล ต้นแบบปีงบประมาณ 2553
เหตุผล ความแตกต่างด้านคุณภาพระหว่างโรงเรียน ในเมืองและชนบท บริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพกระจาย ในทุกพื้นที่ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนในระดับตำบลให้มีคุณภาพ 2. เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 3. เพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชน อปท.
ภาพความสำเร็จ 1. โรงเรียนคุณภาพ : วิชาการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. โรงเรียนทำมาหากิน 3. โรงเรียนสะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย 4. โรงเรียนของชุมชน / รร. เครือข่าย
ตัวชี้วัดสำคัญ... ผลสัมฤทธิ์ไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ วัฒนธรรมประชาธิปไตยเข้มแข็ง และไม่มีปัญหายาเสพติด โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากชุมชนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ อปท.
กระบวนการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล จัดทำประชาคมของทุกฝ่าย โรงเรียนจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมมือ(MOU) กับ อปท. จัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2553-2556) จัดทำแผนประจำปีงบประมาณ แหล่งเรียนรู้ ห้องคอมพิวเตอร์/ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ผู้บริหารนำการเปลี่ยนแปลง
ภายใน 4+4 = 8 เดือน (ม.ค.- เม.ย.2554) โรงเรียนดีประจำตำบล ภายใน 4+4 = 8 เดือน (ม.ค.- เม.ย.2554) เป้าหมาย 7+7 ประการ 1.มีห้องสมุด 3 ดี มีการจัดกิจกรรมรักการอ่าน นักเรียนได้ใช้ห้องสมุดทุกคน 2.มีห้องปฏิบัติการภาษา วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ได้ใช้งานอย่างคุ้มค่า 3.มีศูนย์การเรียนรู้งานอาชีพที่ครบวงจร สร้างอาชีพ หารายได้ระหว่างเรียน 4.เป็นศูนย์กีฬาชุมชนครบวงจร มีสนามกีฬา มีกิจกรรมและการดูแลรักษา 5.มีห้องสุขานักเรียนที่สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ 6.ครูใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อเทคโนโลยีทันสมัยในการสอน 7.ผู้บริหารเป็นที่ยอมรับในการเป็นนักพัฒนาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง 7
1.มีห้องสมุด 3 ดี
2.มีห้องปฏิบัติการ
3.มีศูนย์การเรียนรู้อาชีพ
4.มีศูนย์กีฬาชุมชน
5.มีห้องสุขาที่ถูกสุขลักษณะ
6.มีครูที่ใช้แหล่งเรียนรู้และใช้ไอซีที
7.มีการบริหารที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะพัฒนาไปสู่ความเป็นโรงเรียนดีประจำตำบล
โรงเรียนน่าอยู่ ครูดี นักเรียนมีคุณภาพ ชุมชนร่วมใจ โรงเรียนน่าอยู่ ครูดี นักเรียนมีคุณภาพ ชุมชนร่วมใจ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน 16