สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ยินดีต้อนรับผู้ประเมิน บจก. แอลเอสการประเมิน ทุกท่าน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
การจัดการความรู้ขั้นตอนของเอกสารงานเหตุอันตรายและอุบัติภัย กองควบคุมการปฏิบัติการ การรถไฟแห่งประเทศไทย (Knowledge Management : km)
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การนำผลการวิจัยไปใช้
Communities of Practice (CoP)
การเขียนรายงานการวิจัย
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
KAIZEN ( ไค-เซ็น ).
การหาหัวข้อวิจัยจากทฤษฎีและ งานวิจัยที่ผ่านมา. ทฤษฎีคืออะไร ?
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
จอห์น ซี แม็คเวล (John C Maxwell) กล่าวว่า
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
วัตถุประสงค์ ของการเสวนา รร เล็ก ๑. เพื่อรับนโยบาย จาก ผอ. เขต ๒
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
การอ่านเชิงวิเคราะห์
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ( ๖ ก. ค. ๔๔ ) นำสรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม. ๓๕ ( ๑๑ ก. พ. ๕๕ )

โดยปกติ คนเรารับรู้ / สื่อสาร ระหว่างกัน ด้วย “ ข้อเท็จจริง ” หนึ่ง / ชุดหนึ่ง “ ข้อเท็จจริง ” คือ ข้อมูลที่บอก ว่าอะไรคืออะไร เช่น เสื้อฉันสีขาว, โลกนี้กลม

วันๆหนึ่ง คนเรารับรู้ข้อมูล ( ข้อเท็จจริง ) เป็นครั้งๆ เป็น เรื่องๆ โดยในแต่ละครั้งไม่ได้สนใจว่า มันจะมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ “ ความรู้ ” ที่จะก่อให้เกิด “ การ เรียนรู้ ” จึงไม่ค่อยเกิด !

“ ความรู้ ”(Knowledge) คือ อะไรหรือ ? “ ความรู้ ” คือ “ ข้อสรุป ” ที่ได้ จากการ “ เชื่อมโยง ” ข้อเท็จจริงกลุ่มหนึ่ง ให้ สัมพันธ์กันในเชิงอธิบาย หรือ เชิงที่เป็นเหตุเป็นผลต่อกัน

ผู้ที่จะสร้าง “ ข้อสรุป ” ได้ เป็นเรื่อง ของ “ แต่ละบุคคล ”( เท่านั้น ) ผู้อื่น / สิ่งอื่น จะถ่ายทอดตรงๆ ให้แก่เราไม่ได้ อาจได้แต่เพียงเราคิดตามความรู้ ของคนอื่น แล้วต้องได้ ” ข้อสรุป ” เป็นของตนเอง

“ กระบวนการคิดตาม ” จน จับเหตุผลได้ จะก่อให้เกิด การเรียนรู้ เป็น “ ความรู้ ” หากไม่มีกระบวนการคิดตาม เราจะจับได้เพียง “ ข้อเท็จจริง ” เท่านั้น

ตัวอย่างเช่น สูตร E=MC 2 ของไอสไตน์ คงเป็นเพียง “ ข้อเท็จจริง ” ของผม เพราะผมไม่รู้ “ กระบวนการ คิด ” ของไอสไตน์ จึงไม่มี ข้อสรุปอะไรใดๆเลย

อย่างไรก็ตาม “ ข้อเท็จจริง ” กับ “ ความรู้ ” มีความสัมพันธ์ / ความสำคัญ ( ถ้า ) ไม่มี “ ข้อเท็จจริง ” มันก็ ไม่มีข้อมูลที่จะสร้าง “ ความรู้ ” ได้ ( และ ) ถ้าไม่มุ่ง “ แสวงหา ความรู้ ” ก็ไม่รู้จะ “ สะสม ข้อเท็จจริง ” กันไปทำไม !

ปุจฉา “ การศึกษาไทย ”( อดีต ถึงปัจจุบัน ) เน้นแต่ข้อเท็จจริง ไม่สนใจสร้างความรู้ จริง หรือไม่ ? วิสัจฉนา จริงเพียงครึ่งเดียว เพราะยังให้ “ ข้อเท็จจริง ” ใน ปริมาณจำกัดอยู่

เพราะอะไร ? การศึกษาไทย มักป้อน “ ข้อเท็จจริง ” วิธีเดียว คือ ในชั้นเรียน / ในเวลาเรียน ( ตามหลักสูตร ) ( ครู ) ยังขาดการให้ / การแนะ เครื่องมือสำหรับหาข้อเท็จจริง อื่นๆ / แนวอื่น

ครูเรายังคิด ทำหน้าที่ยัดเยียด ข้อมูลชุดเล็กๆให้ เพื่อจดจำไว้ ในนามของความรู้ “ คุณภาพการศึกษา ” อยู่ ที่ “ การสร้างความรู้ ” ข้อเท็จจริง มิได้สักแต่ว่าได้รู้ ข้อเท็จจริง

แต่เมื่อรู้ “ ข้อเท็จจริง ” หนึ่ง ผู้เรียน ควร / ต้องสามารถ ติดตามกระบวนการคิดของครู หรือของเพื่อน / นักปราชญ์ ได้ ว่า เขา เชื่อมโยง สัมพันธ์ ข้อเท็จจริงต่างๆนั้นได้อย่างไร จึงเกิด “ ข้อสรุป ” อย่างหนึ่ง อย่างใดได้

แค่ ( ผู้เรียน ) ได้ติดตาม กระบวนการคิดได้จริง ก็เท่ากับ ได้สร้างความรู้ใหม่แล้ว ทำไปบ่อยเข้า ทุกคนก็จะมี นิสัย / ทักษะนี้ขึ้นมา เพื่อใช้ในการ ตอบปัญหา ของ เขาที่เขาสนใจ

“ กระบวนการเรียนรู้ ” ครู ต้องมีบทบาทหน้าที่ อำนวย ความสะดวก ในการให้ผู้เรียน ติดตามกระบวนการคิด เพื่อ สร้างความรู้ การจัดการเรียนรู้ ของครู ต้อง เน้น “ การตั้งคำถาม ” ได้ ติดตามกระบวนการคิด

การตั้งคำถาม ( ของครู ) ก็ต้อง เป็นคำถามที่ก่อให้เกิดการ เรียนรู้ คำถามที่อยากจะตอบได้ จะทำ ให้การเรียนอย่างสนุก การเก็บรวบรวมข้อเท็จจริง ก็ สนุก ( เท่าที่เครื่องมือหา ข้อเท็จจริงจะอำนวยให้ )

ฉะนั้น “ ข้อเท็จจริง ” กับ “ การ สร้างความรู้ ” จึงแยกจากกัน ไม่ออก เครื่องมือการสร้างความรู้ มี อยู่มากมาย ร. ร./ ครูต้องจัด เงื่อนไข / ช่วยเหลือ / อำนวย ความสะดวกให้แก่ผู้เรียน

ร. ร./ ครู ต้องจัดวางเงื่อนไข ให้ เหมาะกับผู้เรียน / สถานการณ์ และปรับเปลี่ยนได้ตามความ เหมาะสม ข้อเท็จจริง -  กระบวนการ เรียนรู้ --  ความรู้ ************