10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“Weather is one of the most important factor that influence
Advertisements

ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
(Landslide or Mass movement)
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
แผ่นดินไหว.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
น้ำและมหาสมุทร.
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
ร่องน้ำปราณบุรี.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
พลังงานลม.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลิฟต์.
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ตราด.
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
7.6 กราฟน้ำไหล (Hydrograph)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
ดวงจันทร์ (Moon).
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด 1 Long-rain flood เกิดจากฝนตกติดต่อกันหลายชั่วโมง/วัน/สัปดาห์   Flash flood เกิดขึ้นจากมีฝนตกหนัก เป็นสภาวะน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน จากการเคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วของน้ำจำนวนมากจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ซึ่งมักเกิดขึ้นหลังจากฝนตกหนักไม่เกิน 6 ชั่วโมง 3. Tidal flood เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่งทะเล จากการโหมกระหน่ำฝั่งของคลื่นขนาดใหญ่ อาจเกิดจาก 1) การเกิดแผ่นดินไหวของโลกบริเวณใต้น้ำทะเล 2) เกิดจากลมพายุหมุนพัดเข้าหาฝั่ง 3) เกิดจากน้ำขึ้นน้ำลงของระดับน้ำทะเล

4. Frozen flood เกิดจากฝนที่ตกลงบนพื้นที่ดินที่มีน้ำในดินแข็งตัว ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าหน้าดินลงสู่ลำธารอย่างรวดเร็ว 5. Snowmelt flood เกิดจากการละลายของหิมะอย่างรวดเร็ว

(2.)แบ่งตามสาเหตุการเกิด 1 Large-area flood เกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีขนาดกว้างขวาง อาจจะเกิดจากสาเหตุการเกิดใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ที่เกิดอุทกภัย สภาวะอากาศขณะนั้น มีน้ำไหลหลากอยู่เป็นเวลานาน ครอบคลุมพื้นที่กว้าง เช่น การเกิดอุทกภัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งเกิดจากพายุดีเปรสชั่นพัดพาเอาไอน้ำจากทะเลมาตกบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้เกิดน้ำท่วมเป็นบริเวณกว้างและกินเวลานาน 2 Small-area flood เกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีขนาดเล็ก และเกิดในช่วงเวลาสั้น ๆ เนื่องจากเกิดฝนตกหนักมักเป็นฝนแบบthunderstorm