บันได10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ( 10 steps )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
NAVY WATER BED 2012.
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
บทที่ 2.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
การประเมินแม่ วัตถุประสงค์ เพื่อประเมิน - ความตั้งใจของแม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
สิ่งที่แม่ควรรู้ >>>กลไกการหลั่งน้ำนม
2. กิจกรรมการสร้างกระแสของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การเก็บนมไว้ในช่องแช่แข็งได้นาน 3 เดือน
คุณพวงเพชร ตั้งสัจจะกุล สาธิตการป้อนนมแม่ด้วยถ้วย ที่สถานีอนามัย ต
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โรคอุจจาระร่วง.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
การบริหารยาทางฝอยละออง
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การให้ความรู้/คำแนะนำแก่แม่ขณะตั้งครรภ์ (บันไดขั้นที่ 3)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการกระตุ้นระดับการไหลของนมแม่และลดภาวะคัดตึงเต้านม ในมารดาหลังคลอดด้วยชั้นในไออุ่น (Compress brassiere) นางสาวฮัสนีย์ ดอเล๊าะ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บันได10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ( 10 steps ) โดย : นางสารินี ควนวิไล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ขั้นที่ 1. มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ - ปิดประกาศนโยบาย ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งสนับสนุนอาหารทดแทนนมแม่

ขั้นที่ 2 ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ

ขั้นที่ 3 ชี้ให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีหลักสูตร/ เนื้อหา /การนัดหมายเข้าหลักสูตร (ตรวจสอบความครอบคลอบเนื้อหา 7 หัวข้อ สัมภาษณ์หญิงตั้งครรภ์ ประโยชน์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่/ ความรู้ 2/7 หัวข้อ

ขั้นที่ 4: ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด ขั้นที่ 4: ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด โอบกอดภายในครึ่งชั่วโมงหลังคลอด และให้อยู่กับแม่นาน 1 ชั่วโมง ทารกดูดนมแม่ภายใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด/แม่ตอบสนองได้กรณี c/s

ทำไมจึงต้องนำลูกมาดูดนมแม่ภายใน ครึ่ง ชม. หลังคลอด ?

เพราะเป็นระยะที่ฝึกลูกให้ดูดนมได้ดีที่สุด - เด็กจะไวต่อการเรียนรู้ในระยะนี้ - ลูกอยู่ในระยะตื่นตัว(active alert) - เต้านมแม่ยังนุ่ม น้ำนมแม่ยังมาน้อยเหมาะที่ลูกจะฝึกดูดนม แต่step4 จะได้ผลต้องช่วยให้ได้ Latch-onที่ถูกต้อง สามารถดูดนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม่ได้รับการฟื้นฟูทั้งร่างกายและจิตใจ

จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? หลังเกิดทันที เจ้าหน้าที่ใช้ลูกยางแดงดูดเสมหะ ดูดน้ำคร่ำ ในคอเด็ก อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล ป้องกันความบอบช้ำในการกลืนกิน ใช้ผ้าอุ่นเช็ดตัวเด็กให้แห้ง (ไม่ต้องเช็ดไขออก )

จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? ตรวจร่างกาย เบื้องต้น ประเมินคะแนนแอบการ์ ถ้าเด็กปกติ ให้ลูกอยู่กับแม่ โดยวางเด็กบนอกแม่ ให้ผิวหนังลูกได้สัมผัสผิวหนังแม่ เนื้อแนบเนื้อ แล้วใช้ผ่าห่มคลุมบนตัวทั้งแม่และลูก

การหยอดตา ชั่งน้ำหนัก วัดสัดส่วนต่างๆ ให้รอหลังเด็กได้อยู่กับแม่ เนื้อแนบเนื้อ ได้ดูดนมแม่ในชั่วโมงแรกให้เสร็จก่อน การอาบน้ำเด็ก ควรทำหลังเด็กเกิดแล้วไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมง ไม่ให้กลูโคส นมผสม หรือของเหลวอื่นๆ โดย ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

- เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดแสดงท่าให้นมลูกและการอมหัวนมของลูกได้ถูกต้อง ขั้นที่ 5 : แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และวิธีทำให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียง แม่ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน - เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดแสดงท่าให้นมลูกและการอมหัวนมของลูกได้ถูกต้อง

- เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดอธิบายเทคนิคการบีบน้ำนมแม่ได้ถูกต้อง ขั้นที่ 5 (ต่อ) - เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดอธิบายเทคนิคการบีบน้ำนมแม่ได้ถูกต้อง การนวดเต้านม การบีบน้ำนม

ขั้นที่ 6 : อย่าให้น้ำ นมผสมหรืออาหารอื่นแก่เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

ข้อที่ 7: ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง (มี Rooming in)

คือ - ลูกอยู่ในห้องเดียวกับแม่ภายในหนึ่งชั่วโมง หลังคลอด - แม่และลูกไม่ได้แยกจากกันเกินหนึ่งชั่วโมง เพื่อ - ลูกดูดนมแม่ได้บ่อยตามต้องการ - แม่สามารถตอบสนองต่อลูกได้ตลอดเวลา - ลูกจะได้รับความอบอุ่น

ขั้นที่ 8 : สนับสนุนให้ ลูกได้ดูดนมแม่ตามที่ ลูกต้องการ - ไม่มีข้อจำกัดในการ ให้นมลูก ขั้นที่ 9 : อย่าให้ทารก ที่กินนมแม่ดูดหัวนม ยางและหัวนมปลอม (หรือหัวนมหลอก)

- ลูกใช้เหงือกงับบนหัวนมยาง น้ำนมจากขวด ไหลเข้าปากเองโดยการดูดธรรมดา และแรง โน้มถ่วง - ลิ้นลูกไม่มีการเคลื่อนไหว ปากไม่อ้ากว้าง ทารกดูดนมจากขวดได้โดย ไม่ต้องปิดปากให้สนิท มีการทำงานร่วมกันของลิ้น เหงือก แก้ม เพดานปาก ขากรรไกร อ้าปากกว้าง งับหัวนมและลานม ลิ้นลูกเคลื่อนไหวเป็นคลื่นจากปลายลิ้นมาโคนลิ้น กดลานนมให้แนบกับเพดานแข็งเพื่อไล่น้ำนมออก

มีคลินิกนมแม่ ได้รับคำแนะนำเมื่อมีปัญหาไปขอความช่วยเหลือจากที่ไหน ขั้นที่ 10 : ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และส่งแม่ไปติดต่อกลุ่มดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาล/คลินิก มีคลินิกนมแม่ ได้รับคำแนะนำเมื่อมีปัญหาไปขอความช่วยเหลือจากที่ไหน

ขั้นที่ 11.รับบริจาคอาหารทดแทนนมแม่หรือซื้อในราคาถูกหรือแจกตัวอย่าง รพ.ไม่รับบริจาคอาหารทดแทนนมแม่หรือซื้อในราคาถูก รพ.ไม่อนุญาตให้แจกของขวัญที่มีอาหารทดแทนนมแม่ ขวดนม

สวัสดี