บันได10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ( 10 steps ) โดย : นางสารินี ควนวิไล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ขั้นที่ 1. มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ - ปิดประกาศนโยบาย ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งสนับสนุนอาหารทดแทนนมแม่
ขั้นที่ 2 ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ
ขั้นที่ 3 ชี้ให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีหลักสูตร/ เนื้อหา /การนัดหมายเข้าหลักสูตร (ตรวจสอบความครอบคลอบเนื้อหา 7 หัวข้อ สัมภาษณ์หญิงตั้งครรภ์ ประโยชน์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่/ ความรู้ 2/7 หัวข้อ
ขั้นที่ 4: ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด ขั้นที่ 4: ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด โอบกอดภายในครึ่งชั่วโมงหลังคลอด และให้อยู่กับแม่นาน 1 ชั่วโมง ทารกดูดนมแม่ภายใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด/แม่ตอบสนองได้กรณี c/s
ทำไมจึงต้องนำลูกมาดูดนมแม่ภายใน ครึ่ง ชม. หลังคลอด ?
เพราะเป็นระยะที่ฝึกลูกให้ดูดนมได้ดีที่สุด - เด็กจะไวต่อการเรียนรู้ในระยะนี้ - ลูกอยู่ในระยะตื่นตัว(active alert) - เต้านมแม่ยังนุ่ม น้ำนมแม่ยังมาน้อยเหมาะที่ลูกจะฝึกดูดนม แต่step4 จะได้ผลต้องช่วยให้ได้ Latch-onที่ถูกต้อง สามารถดูดนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม่ได้รับการฟื้นฟูทั้งร่างกายและจิตใจ
จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? หลังเกิดทันที เจ้าหน้าที่ใช้ลูกยางแดงดูดเสมหะ ดูดน้ำคร่ำ ในคอเด็ก อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล ป้องกันความบอบช้ำในการกลืนกิน ใช้ผ้าอุ่นเช็ดตัวเด็กให้แห้ง (ไม่ต้องเช็ดไขออก )
จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? ตรวจร่างกาย เบื้องต้น ประเมินคะแนนแอบการ์ ถ้าเด็กปกติ ให้ลูกอยู่กับแม่ โดยวางเด็กบนอกแม่ ให้ผิวหนังลูกได้สัมผัสผิวหนังแม่ เนื้อแนบเนื้อ แล้วใช้ผ่าห่มคลุมบนตัวทั้งแม่และลูก
การหยอดตา ชั่งน้ำหนัก วัดสัดส่วนต่างๆ ให้รอหลังเด็กได้อยู่กับแม่ เนื้อแนบเนื้อ ได้ดูดนมแม่ในชั่วโมงแรกให้เสร็จก่อน การอาบน้ำเด็ก ควรทำหลังเด็กเกิดแล้วไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมง ไม่ให้กลูโคส นมผสม หรือของเหลวอื่นๆ โดย ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
- เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดแสดงท่าให้นมลูกและการอมหัวนมของลูกได้ถูกต้อง ขั้นที่ 5 : แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และวิธีทำให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียง แม่ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน - เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดแสดงท่าให้นมลูกและการอมหัวนมของลูกได้ถูกต้อง
- เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดอธิบายเทคนิคการบีบน้ำนมแม่ได้ถูกต้อง ขั้นที่ 5 (ต่อ) - เจ้าหน้าที่/หญิงหลังคลอดอธิบายเทคนิคการบีบน้ำนมแม่ได้ถูกต้อง การนวดเต้านม การบีบน้ำนม
ขั้นที่ 6 : อย่าให้น้ำ นมผสมหรืออาหารอื่นแก่เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
ข้อที่ 7: ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง (มี Rooming in)
คือ - ลูกอยู่ในห้องเดียวกับแม่ภายในหนึ่งชั่วโมง หลังคลอด - แม่และลูกไม่ได้แยกจากกันเกินหนึ่งชั่วโมง เพื่อ - ลูกดูดนมแม่ได้บ่อยตามต้องการ - แม่สามารถตอบสนองต่อลูกได้ตลอดเวลา - ลูกจะได้รับความอบอุ่น
ขั้นที่ 8 : สนับสนุนให้ ลูกได้ดูดนมแม่ตามที่ ลูกต้องการ - ไม่มีข้อจำกัดในการ ให้นมลูก ขั้นที่ 9 : อย่าให้ทารก ที่กินนมแม่ดูดหัวนม ยางและหัวนมปลอม (หรือหัวนมหลอก)
- ลูกใช้เหงือกงับบนหัวนมยาง น้ำนมจากขวด ไหลเข้าปากเองโดยการดูดธรรมดา และแรง โน้มถ่วง - ลิ้นลูกไม่มีการเคลื่อนไหว ปากไม่อ้ากว้าง ทารกดูดนมจากขวดได้โดย ไม่ต้องปิดปากให้สนิท มีการทำงานร่วมกันของลิ้น เหงือก แก้ม เพดานปาก ขากรรไกร อ้าปากกว้าง งับหัวนมและลานม ลิ้นลูกเคลื่อนไหวเป็นคลื่นจากปลายลิ้นมาโคนลิ้น กดลานนมให้แนบกับเพดานแข็งเพื่อไล่น้ำนมออก
มีคลินิกนมแม่ ได้รับคำแนะนำเมื่อมีปัญหาไปขอความช่วยเหลือจากที่ไหน ขั้นที่ 10 : ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และส่งแม่ไปติดต่อกลุ่มดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาล/คลินิก มีคลินิกนมแม่ ได้รับคำแนะนำเมื่อมีปัญหาไปขอความช่วยเหลือจากที่ไหน
ขั้นที่ 11.รับบริจาคอาหารทดแทนนมแม่หรือซื้อในราคาถูกหรือแจกตัวอย่าง รพ.ไม่รับบริจาคอาหารทดแทนนมแม่หรือซื้อในราคาถูก รพ.ไม่อนุญาตให้แจกของขวัญที่มีอาหารทดแทนนมแม่ ขวดนม
สวัสดี