บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
Information Systems in the Enterprise
The Power of Communication
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
หลักระบบสารสนเทศ Principles of information systems
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Surachai Wachirahatthapong
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
Analyzing The Business Case
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Transaction Processing Systems
ความสำคัญปัญหาองค์ประกอบ M-I-S M-I-Sสนใจเรื่องอะไร สรรพสิ่ง ENTITIES Context อะไร.
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
Geographic Information System
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Assessment and Evaluation System
ระบบฐานข้อมูล.
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
Information Systems Development
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ Information Systems and The Role of the Modern Systems Analyst

วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบได้ อธิบายบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบและบุคลากรต่าง ๆ ขององค์กรในการพัฒนาระบบสารสนเทศได้ อธิบายความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศแต่ละชนิดได้

ความหมายของระบบ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน โดยแต่ละองค์ประกอบจะทำงานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์เดียวกัน

ระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย Hardware Software และpeopleware ทำงานประสานกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการ Hardware Software Peopleware

ภาพรวมของระบบ Feedback Environment Subsystem Subsystem Monitoring Subsystem Boundary/Organization Environment ระบบที่ดีจะต้องออกแบบให้ระบบย่อย มีความเป็นอิสระกันมากที่สุด

ประเภทของระบบ ระบบปิด (Closed System) ระบบเปิด (Open System)

ระบบธุรกิจ (Business System) ตัวอย่างระบบย่อยในระบบธุรกิจ ระบบการผลิต ระบบการตลาด ระบบบัญชี ระบบสินค้าคงคลัง ระบบบริหารงานบุคคล

รูปแสดงกระบวนการทำงานในระบบธุรกิจ Service Production design Production Sale Delivery Customer Supplier Product design Actual and forecasted orders Orders to supplier Purchase part Finished goods Service requests Equipment information preferences

องค์กรและระบบสารสนเทศ องค์กร เป็นโครงสร้างสังคมที่เป็นทางการ ประกอบด้วยกลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายเดียวกัน องค์กรถือว่าเป็นระบบหนึ่ง องค์กรต้องการสารสนเทศเพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

ข้อมูลและสารสนเทศ Data Process information

ระบบสารสนเทศ (Information System) เป็นระบบที่ประกอบด้วย ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล แล้วนำมาผ่านการประมวลผล ได้ผลลัพธ์เป็นสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศประกอบด้วยส่วนประกอบ 5 ส่วน คือ Hardware, Software, Data, Peopleware, Procedure

ชนิดของระบบสารสนเทศ Transaction Processing System : TPS Management Information System : MIS Decision Support System : DSS Group Decision Support System : GDSS Geographic Information System : GIS Executive Information System : EIS Artificial Intelligence : AI Office Information System : OIS หรือ Office Automation System : OAS

การใช้สารสนเทศของผู้บริหารระดับต่าง ๆ ESS,MIS,DSS,OIS MIS,OIS

การวิเคราะห์ระบบ เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานปัจจุบัน (Current system) เพื่อออกแบบระบบการทำงานใหม่ (New System) โดยมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงแก้ไขระบบงานเดิมให้ดีขึ้น

เหตุผลในการพัฒนาระบบงานใหม่ ปรับปรุงการบริการแก่ลูกค้า เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เพิ่มกระบวนการควบคุมการทำงาน ลดต้นทุนการดำเนินการ ต้องการสารสนเทศมากขึ้น

นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst :SA) คือผู้ทำหน้าที่ศึกษาปัญหาและความต้องการขององค์กร ด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ไขปัญหาทางธุรกิจ

การศึกษาปัญหามีขั้นตอนดังนี้ ศึกษาและทำความเข้าใจกับปัญหา ตรวจสอบถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการแก้ไขปัญหา และความคุ้มค่าต่อการลงทุน กำหนดความต้องการสำหรับแก้ปัญหาล สร้างแนวทางการแก้ไขปัญหา หลาย ๆ ทางเลือก กำหนดรายละเอียดของแนวทางการแก้ปัญหา นำแนวทางไปปฏิบัติ ติดตามผล

ความรู้และทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ ความรู้ทางเทคนิค ความรู้ทางธุรกิจ ความด้านคนและทีมงาน ความซื่อสัตย์และจรรยาบรรณในอาชีพ

คำถามท้ายบทที่ 1 ยกตัวอย่างระบบในชีวิตประจำวัน และอธิบายว่าทำไมถึงคิดว่าเป็นระบบ

ใบงานที่ 1 แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 6 - 8 คนทำ Project การวิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยเลือกระบบงานตัวอย่าง 1 ระบบ จาก ระบบซื้อขาย ระบบเช่า-คืน ระบบหอพัก ระบบคลินิก ระบบรับซ่อม