โครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย ( นบม.) รุ่นที่ 17 “ จุดเด่นและข้อจำกัดของ สถาบันอุดมศึกษาไทย ” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง : สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางสังคม และการปกครองโดยหลักนิติธรรม จัดโดย สถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย และ ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Advertisements

ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ปฏิญญาหาดใหญ่ (Hatyai Declaration)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ครั้งที่ 9/2551 วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2551 เวลา น. ณ ห้องประชุม 801 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 ตุลาคม 2551
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
หลักสูตรการพัฒนาระบบความก้าวหน้าในสายอาชีพเชิงปฏิบัติ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย ( นบม.) รุ่นที่ 17 “ จุดเด่นและข้อจำกัดของ สถาบันอุดมศึกษาไทย ” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 14 มีนาคม 2550 เวลา – น. ห้องกษัตริย์ศึก 3 ชั้น 4 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ

1. 1. ระยะเวลาที่สั่งสมพัฒนามาเป็น เวลานาน ระบบการควบคุมดูแลที่ค่อนข้าง เข้มงวด สกอ., กพ ความมีอิสระทางวิชาการสูง ศักยภาพของบุคลากรมาจาก หลากหลายแนวคิด การเป็นที่ยอมรับนับถือจากสังคม อาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ตาม วัฒนธรรมตะวันออกยังเป็นอาชีพที่มี เกียรติ จุดเด่น

1. 1. ความจำกัดด้านงบประมาณ การอยู่ภายใต้การกำกับของหลาย หน่วยงานของรัฐ การแข่งขันด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ รุนแรงขึ้น ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ไม่ใช่ภาษา หลัก ขาดนโยบายการบริหารอุดมศึกษาของ ชาติ ที่กำหนดเป้าหมายชัดเจน อิสรภาพเชิงความคิดที่สูง ข้อจำกัด

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับการบริหาร พัฒนา และประกันคุณภาพการศึกษา ผลการประเมินจากสังคม นานาชาติ “ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียว ของประเทศไทย ที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก จากการประกาศของ The Times Higher Education Supplement (THES) นับตั้งแต่ที่ได้เริ่มจัดอันดับมาในปี ค. ศ.2004 จนถึง ปัจจุบัน รวม 3 ปีติดต่อกัน ” ในการจัดอันดับภาพรวมของ THES จะประกาศเฉพาะ The World’s Top 200 Universities เท่านั้น ซึ่งจุฬาฯ ติดอันดับในตารางดังกล่าว 2 ปีติดต่อกัน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับการบริหาร พัฒนา และประกันคุณภาพการศึกษา ในการจัดอันดับทางด้าน Website โดย Webometrics จุฬาฯ ได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 1 ของประเทศไทย ติดต่อกันสองปีซ้อน คือ ในปี 2005 และ 2006 เป็นอันดับที่ 3 ในกลุ่มประเทศ ASEAN และเป็นอันดับที่ 26 ในกลุ่มประเทศ ASIA ในการจัดอันดับ เมื่อแบ่งเป็นสาขาย่อย THES จะแบ่งออกเป็น 5 สาขา คือ Science, Technology, Biomedicine, Arts and Humanities, Social Science โดยจะประกาศเฉพาะ The World’s Top 100 ในสาขาย่อยเท่านั้น ซึ่ง ใน 3 ปีที่ผ่านมา จุฬาฯ สามารถติดอันดับในสาขาย่อย ดังกล่าวได้ถึง 4 สาขา หากพิจารณาเปรียบเทียบเฉพาะในกลุ่ม ประเทศ ASEAN จุฬาฯ ในภาพรวมถูกจัดเป็นอันดับที่ 3 ติดต่อกันสองปีซ้อน

“ ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง ” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย