เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2 ประเด็น นโยบายและ โครงการ ความรู้เกี่ยวกับการ ปรับตัว องค์ความรู้กับการ ปฏิบัติ สู่ยุทธศาสตร์ ขออภัยในบางส่วนของเอกสารและคำพูดที่แปลผิดพลาดครับ
3 นโยบายและโครงการ ยุทธศาสตร์ แบบแผน และโครงการ ระดับชาติ แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ในด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ( ) ได้มีการร่างแผนยุทธศาสตร์ 10 ปี ในด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ( ) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ 3 ปี ( ) ภาครัฐ อื่นๆ กทม. ได้จัดทำรายงาน การประเมินผล การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปี 2552 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดตั้งศูนย์ จัดการความรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CCKM)
4 นโยบายและโครงการ 2 มีส่วนร่วมในความตกลงระหว่างประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ (UNFCCC) ในปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม กับผู้นำ อาเซียน (ASEAN) ผู้ดำเนินการที่ไม่ได้มาจากภาครัฐ มูลนิธิรักษ์ไทย (RaksThai) ได้เริ่มนำการปรับตัว มาเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานการเตรียมความพร้อม ของชุมชนเพื่อรับมือภัยพิบัติ องค์การอ็อกแฟม (Oxfam) ได้ดำเนินงานในการ ปรับตัวในจังหวัดยโสธร
5 เสนอแนะ 1 ทางลือกที่ดีที่สุดสำหรับ เวที คือ ความ ร่วมมือและการสนับสนุนการจัดตั้ง CCKM การทำงานกับศูนย์จัดการความรู้ด้านการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและเครือช่ายของ ศูนย์ ซึ่งเชื่อมโยงกับหน่วยงานราชการต่างๆ ในประเทศไทยจะเหมาะกับการปรับตัวซึ่งมี ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย
6 ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัว การวิจัย ส่วนใหญ่... ทำความเข้าใจ ใน การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ผลกระทบ ที่ อาจจะเกิดขึ้น ความเปราะบาง และ ความ อ่อนไหว
7 ความรู้เกี่ยวกับ... ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ทรัพยากรน้ำ อาชีพทาง การเกษตรและการ ดำรงชีพในชนบท ถิ่นฐานมนุษย์ และ สุขภาพ เช่น จาก ภัยน้ำท่วม
8 การปรับตัว การรับมือกับความไม่แน่นอน coping with uncertainty การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง learning from experience การสร้างความสามารถ ใน การปรับตัว building adaptive capacity การเชื่อมโยงในการพัฒนาให้รวมเป็นหนึ่ง อันเดียวกัน Integrating with development
9 เสนอแนะ 2 ในเบื้องต้นน่าจะให้ความสำคัญใน 2 ส่วน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการ ดำรงชีวิตในชนบท ภัยพิบัติและการบริหารจัดการความเสี่ยง ต่อสภาพภูมิอากาศในถิ่นฐานของมนุษย์
10 องค์ความรู้กับการปฏิบัติ องค์ความรู้มีการขยายมากขึ้น งานวิจัยเป็นตัวชี้นำมีความจำเป็นมากขึ้น ช่องว่าง เกิดจาก ไม่มีความรู้ ไม่สามารถเข้าถึงได้ เข้าถึงได้แต่ไม่ได้ นำมาใช้
11 ประชุมเสวนาครั้งแรก... พัฒนาศักยภาพ ให้สูงขึ้น การประสานงาน และ ความร่วมมือ พื้นที่ของชุมชน ประสบการณ์
12 สู่ยุทธศาสตร์ ความสามารถ ในการปรับตัว มีข้อจำกัดของทุกภาคส่วน ความต้องการมีอยู่มาก ในเชิงระยะยาวการลงทุนเป็นสิ่งที่จำเป็น ให้ความสำคัญกับกลุ่มคนที่มีความ เปราะบางหรือด้อยโอกาส สำหรับผู้วางแผนยุทธศาสตร์และนโยบาย การรับมือกับความไม่แน่นอน เป็นเรื่องที่ สำคัญมาก
13 การรับมือ กับความไม่แน่นอน No-regrets ไม่มีทางเสีย Reversible and flexible ทางเลือกที่สามารถ ทำตรงข้ามได้และมีความยืดหยุ่น Wider safety margins ยอมลงทุนมากขึ้นเพื่อ ความปลอดภัยที่คุ้มค่า Soft strategies ยุทธศาสตร์ที่ไม่จำเป็น ต้องมี การก่อสร้าง Reduce decision-time horizons การ ตัดสินใจลงทุนเพื่อการใช้งานในช่วงเวลาที่สั้น กว่าเดิม
14 การสร้างความสามารถ การมีส่วนร่วม เอาใจใส่ต่อ สถาบัน วิเคราะห์ ผลกระทบ จาก นโยบายและ สถาบัน
15 เสนอแนะ 3 การพัฒนาชุดฝึกอบรม สำหรับหน่วยงาน ของรัฐในระดับท้องถิ่น การพัฒนาชุดฝึกอบรมโดยการแสดงให้ เห็นจริงและการดำเนินการร่วมกับ คณะกรรมการลุ่มน้ำ ช่วยกระตุ้นให้มีการประเมินความต้องการ ในความสามารถของการปรับตัวโดยมีส่วน ร่วมของชุมชนที่มีน่าจะได้รับผลกระทบ มาก
16 ขอบคุณครับ ดุสิตา กระวานชิด ชญานิศ กฤตสุทธาชี วะ เหมือนปอง จันโท ภาส พิมพกานต์ เลอเบล ราเจช โนเอล ศุภกร ชินวรรโณ