การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ปัญหาในงานสหกิจศึกษา ๑. ปัญหาที่เกิดจากนักศึกษา ๒. ปัญหาที่เกิดจากสถานประกอบการ ๓. ปัญหาที่เกิดจากคณาจารย์นิเทศ ๔. ปัญหาที่เกิดจากสถานศึกษา ๕. ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยอื่นๆ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ประเด็นปัญหาของนักศึกสหกิจศึกษา ๑. ปัญหาด้านความรู้ความสามารถในการทำงาน ๒. ปัญหาการปรับตัว สังคมการทำงาน การทำงานร่วมกับผู้อื่น การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ประเด็นปัญหาของนักศึกษาสหกิจศึกษา ๓. ปัญหาชีวิตส่วนตัว ชู้สาว เงินไม่พอใช้ สุขภาพ ๔. ปัญหาเกี่ยวกับโครงงาน/งานประจำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ประเด็นปัญหาที่เกิดจากคณาจารย์สหกิจศึกษา ๑. ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญา สหกิจศึกษา ๒. ไม่มีเวลาในการไปนิเทศงาน ๓. ไม่มีเวลาในการให้คำปรึกษาและแนะนำ นักศึกษา ๔. ภาระงานสหกิจศึกษาที่มากเกินไป การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ประเด็นปัญหาที่เกิดจากสถานประกอบการ ๑. ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญาสหกิจศึกษา ๒. ขาดบุคลากรด้านสหกิจศึกษา ๓. นโยบายสหกิจศึกษาที่ไม่ชัดเจน(ไม่มีผลตอบแทนให้นักศึกษา) ๔. ผู้นิเทศงานไม่มีเวลาให้นักศึกษา ๕. การมอบหมายงานและโครงงานที่ไม่มีคุณภาพ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 ที่มา.......ของปัญหา ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญาสหกิจศึกษา ขาดบุคลากรด้านสหกิจศึกษา (ปริมาณ คุณภาพ) ขาดกระบวนการเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพ ขาดกระบวนการสรรหา จับคู่สถานประกอบการที่มีประสิทธิภาพ นโยบายด้านสหกิจศึกษาไม่ชัดเจน การบริหารจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ได้รับแจ้งจากสถานประกอบการว่านักศึกษาขอลากลับไปทำกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย - ตรวจสอบหาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - ประสานงานคุยกับนักศึกษา - ประสานงานทำความเข้าใจกับสถานประกอบการ - ทำหนังสือตักเตือนและทัณฑ์บนนักศึกษา 2. นักศึกษาขอเปลี่ยนสถานประกอบการด้วยเหตุไม่ชอบสภาพการทำงานของที่เดิม - พูดคุยกับนักศึกษาเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง - โน้มน้าวใจให้เห็นถึงประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รับในการปฏิบัติ - พูดคุยกับนักศึกษาถึงทางออก การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 3. ได้รับ Fax แจ้งว่านักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสม โดยมีความสัมพันธ์เชิงลึกกับ รปภ. - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - หาข้อมูลเพิ่มเติมจากเพื่อนนักศึกษา - ตรวจสอบประวัติย้อนหลังของนักศึกษา - ประสานงานคุยกับนักศึกษา - ประสานงานหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ 4. นักศึกษาแพ้สารเคมีในระหว่างการปฏิบัติงาน - พูดคุยกับนักศึกษาเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง - ประสานงานสถานประกอบการเพื่อปรับเปลี่ยนภาระงานที่ต้องปฏิบัติงาน - แจ้งข้อมูลนักศึกษาทราบเพื่อปฏิบัติ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 5. สถานประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานให้นักศึกษาไม่ผ่าน เพื่อให้นักศึกษายังคงปฏิบัติงานต่อ - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - ตั้งคณะกรรมการภายในประเมินผล 6. สถานประกอบการแจ้งพบข้อมูลไม่เหมาะสมในรายงานสหกิจศึกษาซึ่งส่งผลต่อภาพลักษณ์องค์กร จึงต้องการฟ้องร้องมหาวิทยาลัย - ติดต่อกลับไปยังสถานประกอบการ - พูดคุยกับคณบดี - หาข้อมูลที่ชัดเจนกับหัวหน้าสาขาและอาจารย์ที่ปรึกษา - ประสานงานสถานประกอบการเพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา - ออกหนังสือถึงสถานประกอบการและเข้าพบเพื่อแสดงความจริงใจในการรับผิดชอบ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 7. ผู้นิเทศงานไม่มีเวลาในการให้คำปรึกษาและดูแลนักศึกษาสหกิจศึกษา - แนะนำนักศึกษาในการเข้าหารือกับผู้นิเทศงาน เพื่อกำหนดเวลาที่ชัดเจนในการขอเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและรายงานความคืบหน้าในการปฏิบัติงาน - จัดทำแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน - นักศึกษาต้องขยันและช่วยเหลือตนเองมากยิ่งขึ้น โดยอาจต้องหาพี่พนักงานคนอื่นให้ความช่วยเหลือ - อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือมากขึ้น การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 8. นักศึกษาได้รับการมอบหมายงานที่ไม่เหมาะสม และไม่ตรงตามที่เคยได้มีการตกลงกันไว้ - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - แนะนำให้นักศึกษาพูดคุยกับผู้นิเทศงานเพื่อขอทราบแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน - อาจารย์ที่ปรึกษาติดต่อประสานงานกับผู้นิเทศงานเพื่อหารือเกี่ยวกับลักษณะงาน 9. นักศึกษาหนีงานด้วยไม่สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้ โดยไม่แจ้ง - ติดต่อนักศึกษาเพื่อหาข้อมูลที่แท้จริง - ประสานแจ้งสถานประกอบการทราบ - แจ้งนักศึกษาทราบถึงโทษที่นักศึกษาได้กระทำไป การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
กระบวนการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 กระบวนการแก้ไขปัญหา ๑.๑ การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ ๑.๒ การวินิจฉัยปัญหาและวางแผนแก้ปัญหา ๑.๓ ดำเนินการแก้ไขปัญหา ๑.๔ การสรุปและประเมินผล การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
๑.๑ การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ:- การตั้งคำถามและใช้น้ำเสียงอย่างเหมาะสม การใส่ใจในการฟัง อดทนฟัง การสังเกตพฤติกรรมในระหว่างสนทนา วางตนเป็นกลาง พิจารณาจากสภาพจริง ไม่ใส่ความรู้สึกส่วนตัว ชี้ประเด็นปัญหาและให้กำลังใจ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
หลักการประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา “ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา” ๑.๒ การวินิจฉัยปัญหาและการวางแผนแก้ปัญหา หลักการประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา “ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา” รุนแรงน้อย รุนแรงมาก รุนแรงปานกลาง รุนแรงมากที่สุด
การวินิจฉัยปัญหาและการวางแผนแก้ปัญหา ให้นักศึกษาเสนอทางเลือกในการแก้ปัญหา ร่วมให้ข้อมูลเพื่อพิจารณาทางเลือก ชี้แนะถึงผลที่จะตามมา สรุปความ มีเป้าหมายในการ วางแผน มีข้อมูลสำหรับ วางแผนแก้ปัญหา เกิดกำลังใจ ตัดสินใจด้วยตนเอง การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 ๑.๓ ดำเนินการแก้ไขปัญหา ลงมือแก้ไขปัญหาทันทีตามแนวทางที่ได้วางแผนไว้ “...ด้วยตนเอง หรือ ผู้อื่นร่วมด้วย...” การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 ๑.๔ การสรุปและประเมินผล “ ต้องสรุปผลการแก้ไขปัญหา นำเสนอต่อทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง.....” KM การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 บทสรุป คณาจารย์นิเทศต้องให้คำปรึกษาทั้งปัญหาการปรับตัว ปัญหาการปฏิบัติงาน/จัดทำโครงงาน และปัญหาส่วนตัว คณาจารย์นิเทศต้องแสดงความจริงใจ พร้อมให้ความ ช่วยเหลือโดยคำนึงถึงประโยชน์ของนักศึกษา สถาน ประกอบการ win win win การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 บทสรุป คณาจารย์นิเทศต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยยึดมั่นหลัก คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการแก้ไขปัญหา ไม่มีคำตอบสำเร็จรูปหรือตายตัว ในการแก้ไขปัญหาไม่ใช่การตัดสินชี้ถูกผิด การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 การฟัง การสังเกต การถาม ทักษะพื้นฐาน ที่จำเป็น การเงียบ การทวนซ้ำ การสะท้อนความรู้สึก การสรุปความ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
แนวทางการป้องกันปัญหาในงานสหกิจศึกษา สร้างความรู้ความเข้าใจปรัชญา หลักการสหกิจศึกษา กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง กำหนดนโยบายด้านสหกิจศึกษาที่ชัดเจน มีการบริหารจัดการงานสหกิจศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีคู่มือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน(รวมถึงเอกสาร แบบฟอร์ม) การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
แนวทางการป้องกันปัญหาในงานสหกิจศึกษา มีกระบวนการคัดเลือก จับคู่สถานประกอบการกับนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีกระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนสหกิจศึกษา(อาจารย์ นักศึกษา และสถานประกอบการ) มีการจัดทำการจัดการความรู้(KM) ด้านสหกิจศึกษา สานความสัมพันธ์กับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011 Q&A การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011