ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”

“ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”

ถอยกลับไปดู : การกำหนด เป้าประสงค์ขององค์กร - ครบ 3 มุมมองหรือไม่ ( ผู้รับ / ผู้ให้ / องค์กร ) - เป็นนามธรรม หรือรูปธรรม - ข้างบนยังเบลอ ข้างล่าง....

ถอยกลับไปดู : บริบทขององค์กร โรค / ปัญหาสภาวะสุขภาพที่ เผชิญอยู่ - ข้อมูลครอบคลุม Hospital base Community base ( กลุ่มเจ็บป่วย / เสี่ยง / ปกติ ) - กำหนดเป็นกลุ่มโรค หรือราย โรค ให้มองกว้างและลึกได้

ตัวอย่างกลุ่มโรค : 1. กลุ่มโรค Acute Traumas Non Traumas 2. กลุ่มโรค Chronic 3. กลุ่มโรคติดต่อ (CD) 4. กลุ่มแม่และเด็ก 5. กลุ่มผู้ป่วยส่งต่อ Refer in Refer out 6. กลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรงงาน

บริบทองค์กร ( ต่อ ) เชิงภูมิศาสตร์ - สภาพพื้นที่ ( ราบ / ภูเขา / น้ำ ) - การเข้าถึงบริการ - การส่งต่อผู้ป่วย - พื้นที่รับผิดชอบ ( ตำบล หรืออำเภอ ) - เครือข่ายบริการ

1. ศักยภาพขององค์กร care - Excellent center 2. จัดบริการรองรับ - เหมาะสม ศักยภาพ / ความต้องการ ของชุมชน / ประชาชน - ขาด / เกิน - โรคที่จะรักษา ( ส่งต่อ / พัฒนาให้ได้ ) บริบทองค์กร ( ต่อ )

เศรษฐกิจและสังคม - สังคม เมือง เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว - อาชีพ Customer segment - แรงงานอพยพ / ต่างด้าว ชายแดน บริบทองค์กร ( ต่อ )

วัฒนธรรม / ความเชื่อ / เหตุการณ์ - 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - ชาวเขา - หลักศาสนา - ถือศีลอด - กินเจ บริบทองค์กร ( ต่อ )

ถอยกลับไปดู : แผนยุทธศาสตร์ - แยกกันคนละส่วน - เชื่อมกับโรค / ปัญหาสภาวะสุขภาพที่ เผชิญอยู่ - ครอบคลุมมิติรักษาพยาบาล / สร้างเสริม สุขภาพ - ทำตามโครงการของกระทรวงฯ

ถอยกลับไปดู : ตัวชี้วัดโรงพยาบาล 1. Clinical quality - ทั่วไป / สะท้อนผลลัพธ์ในกลุ่มโรคสำคัญ - มิติรักษาพยาบาล / สร้างเสริมสุขภาพ 2. Service/Management quality 3. เชื่อมโยง โรงพยาบาล ทีม (PCT) หน่วยงาน

ถอยกลับไปดู : การขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ - มีแผนฯ ไว้ส่งหน่วยเหนือ - พัฒนาแบบไม่ง้อแผนฯ - เข็มมุ่งคนละทิศกับแผนฯ - ติดตามประเมินการบรรลุอย่างสม่ำเสมอ - ปรับแผนฯ / ขับเคลื่อนเชิงกลยุทธ

ถอยกลับไปดู : บทบาทของทีมนำสูงสุด การสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพ - กระแสตื่นตัว สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง - เอื้อให้แพทย์มาเป็นแกนนำ - ขจัดปัญหาอุปสรรค

บทบาททีมนำสูงสุด ( ต่อ ) การผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง - ติดตามประเมิน การรับรู้เข้าใจ การนำสู่การปฏิบัติ ระดับหน่วยงาน / ทีม - รับรู้ปัญหา ช่องทางต่างๆ - สนับสนุน / ผลักดัน เชิงปริหารจัดการ เชิงนโยบาย ทรัพยากร เป้าประสงค์ แผนยุทธศาสตร์

บทบาททีมนำสูงสุด ( ต่อ ) การติดตามประเมินการบรรลุตามเป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ประสิทธิภาพของระบบที่สำคัญ - วัฒนธรรมการเรียนรู้ / ความปลอดภัย

ถอยกลับไปดู : บทบาทของทีมนำเฉพาะด้านต่าง ๆ - ปล่อยให้เลขาฯ ทำตามลำพังหรือไม่ - ลดฐานะเป็นทีมหน่วยงาน - เน้นทำเพื่อให้มีกิจกรรมตามมาตรฐาน - เป้าหมายและปัญหาที่มีผลกระทบ เป็นตัวตั้งทีม พัฒนา Policy maker นโยบาย ระบบงาน Policy Monitoring เรียนรู้รับฟังปัญหาระดับล่าง ร่วมกันพัฒนา

ถอยหลังไปดู : “ คุณกำลังทำ HA อยู่ ?” หรือ “ คุณกำลังทำความฝัน ( เป้าประสงค์ ) ขององค์กรให้ เป็นจริง ”

The End