:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
NSO โดย นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
NSO
การจัดองค์กรและการบริหาร
โครงสร้างการจัดการ/บทบาทหน้าที่ NSO โครงสร้างการบริหาร มีการจัดโครงสร้างการบริหารและกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน มีแผนพัฒนาทางด้านการพยาบาลชัดเจน 3. มีการติดตามประเมินโครงสร้างการบริหารและนำไปปรับปรุงให้เหมาะกับสถานการณ์ กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์และเครื่องชี้วัดชัดเจน 1. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์เครื่องชี้วัดครอบคลุมประสิทธิภาพการบริหาร ความรู้ ความสามารถ ทักษะเชิงวิชาชีพและคุณภาพการพยาบาล 2. มีการทบทวนเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ รวมทั้งแผนพัฒนาให้เป็นปัจจุบันเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กรเป็นระยะ
โครงสร้างการจัดการ/บทบาทหน้าที่ NSO ระบบการสื่อสาร/แก้ไขปัญหาภายใน/ระหว่างวิชาชีพ มีระบบการสื่อสาร/แก้ไขปัญหาภายใน/ระหว่างวิชาชีพ/ทีมนำต่างๆที่มีประสิทธิภาพ สามารถประสานและให้คำปรึกษาทางด้านการพยาบาลกับทีมนำโรงพยาบาล นโยบาย/แนวทางปฏิบัติในการติดตามกำกับให้เจ้าหน้าที่อยู่ในมาตรฐาน เจ้าหน้าที่รู้/เข้าใจบทบาทหน้าที่ของทีมบริหารการพยาบาลและมีส่วนร่วม
โครงสร้างการจัดการ/บทบาทหน้าที่ NSO นโยบายแนวทางปฏิบัติครอบคลุมในเรื่อง โครงสร้างการบริหาร การรักษามาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบันทึกข้อมูล การป้องกันและการจัดการความเสี่ยงทางการพยาบาล แนวทางการช่วยเหลือจนท.ที่ประสบปัญหาด้านจริยธรรม
NSO
NSO
การจัดการทรัพยากรบุคคล
ความรู้ความสามารถผู้นำทางการพยาบาล มีการคัดเลือกและเตรียมความพร้อมของผู้นำทางการพยาบาลทุกระดับ ผู้นำทางการพยาบาลทุกระดับมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และสามารถกระตุ้น ผลักดันให้มีการพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาลที่ตอบสนองต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการประเมินความสามารถของผู้นำทางการพยาบาลระดับหน่วยงาน มีการประเมินความสารถทางการพยาบาลของผู้นำทุกระดับและนำผลไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้บริหารทางการพยาบาลในแต่ละระดับ
การจัดการทรัพยากรบุคคล
การจัดอัตรากำลัง มีการจัดอัตรากำลังที่เหมาะสมในหน่วยงานที่มีความเสี่ยงสูง มีการประเมินความเพียงพอของอัตรา กำลังโดยพิจารณาความรุนแรง/ความต้องการของผู้ป่วย มีระบบประเมินความเพียงพออัตรากำลังที่ประกันว่าผู้ป่วยจะได้รับการดูแลที่มีคุณภาพและปลอดภัยตลอดเวลา
การจัดอัตรากำลัง มีระบบสำรองอัตรากำลังคนในภาวะปกติ/ฉุกเฉิน มีการปรับกำลังคนให้เหมาะสมสำหรับในแต่ละช่วงเวลาในลักษณะตั้งรับ เพื่อให้ตอบสนองพันธกิจขององค์กร มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับ การให้บริการในหน่วยงานที่รับผิดชอบ มีกำลังคนที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับปริมาณงานในทุกหน่วยงาน
การจัดการทรัพยากรบุคคล
การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ มีระบบกำกับดูแลครอบคลุมบุคลากรทางการพยาบาล การกำกับและให้ความช่วยเหลือระหว่างปฏิบัติงาน มีการจัดระบบงานเพื่อช่วยให้ปฏิบัติงานได้ถูกต้องและป้องกันความผิดพลาด มีระบบประเมินการปฏิบัติการควบคุมกำกับที่เน้นความสามารถ/ทักษะเชิงวิชาชีพ บางประเด็นและมีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ มีระบบการประเมินการปฏิบัติและการควบคุมที่เน้นความสามารถ/ทักษะวิชาชีพ และนำผลการประเมินไปสู่การวางแผนพัฒนาศักยภาพ
การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพ 10 ข้อ ได้แก่ 1.ความสามารถในการประเมินปัญหา 2.ความสามารถในการให้การพยาบาลสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว แต่ละราย 3.ความสามารถในการปรับปรุงการพยาบาลให้เหมาะสมกับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย 4.ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหาฉุกเฉินและรายงานได้ทันท่วงที 5.ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเหตุการณ์
การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพ 10 ข้อ ได้แก่ 6.ตัดสินวินิจฉัยสั่งการได้เป็นอย่างดี มีเหตุผล 7.มีความสามารถในการให้ความรู้และให้การปรึกษาเพื่อสนับสนุนการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัว 8.ความสามารถในการให้การพยาบาล/ช่วยเหลือจนท.ระดับต่ำกว่าในกรณีที่ต้องให้การพยาบาลที่ซับซ้อน 9.ความสามารถประยุกต์ความรู้การปฏิบัติงานได้อย่างมีเหตุผล 10.ความสามารถให้ข้อเสนอแนะแก่ทีมงานในการแก้ไขปัญหาของผู้ป่วย
การจัดการทรัพยากรบุคคล
ประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรทางการพยาบาล เป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยเชื่อมโยงกับหน้าที่และทักษะเฉพาะหน่วยงานและตอบสนองต่อผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย บุคลากรพัฒนาตนเองต่อเนื่อง
NSO
ศักยภาพและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การวางแผน/กำหนดเนื้อหาพัฒนา นำข้อเสนอแนะและความคิดเห็นจนท.และหน.หน่วยงานมากำหนดเนื้อหาการพัฒนา นำข้อมูลจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน /ความรู้/ทักษะมากำหนดเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาครอบคลุมความรู้ทางด้านเทคนิคบริการทั่วไป/ทักษะเชิงวิชาชีพ Training need และแผนพัฒนาบุคลากรของฝ่ายครอบคลุมผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับและจนท.ปฏิบัติการ ประสานกับระบบงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น RM IC กิจกรรมทบทวนทางคลินิก การพัฒนาจนท.มีความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ของ NSO และความต้องการจนท.การศึกษาต่อเนื่อง,ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
การประเมินผลการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ประเมินกระบวนการศึกษา อบรม พัฒนา(1) ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม(2) ประเมินการนำความรู้ไปใช้/การเปลี่ยนวิถีการทำงาน(3) ประเมินผลกระทบการดูแลผู้ป่วย(4) นำผลไปปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรบุคคล(4) ประเมินผลสัมฤทธิ์การศึกษาอบรม โดยพิจารณาผลงานบุคคล หน่วยงานและฝ่ายกพย.(5)
ผลลัพธ์ พยาบาลทั้งใหม่และประจำการมีความรู้และ ทักษะสอดคล้องกับหน้าที่รับผิดชอบ พยาบาลทุกระดับนำความรู้และทักษะใหม่ๆมาใช้ในการทำงาน การพัฒนาจนท.พยาบาลมีส่วนสำเร็จของ NSO/องค์กร ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ขยายผลการพัฒนาใน NSO ให้หน่วยงานและ วิชาชีพต่างๆใช้ประโยชน์ร่วมกัน CQI ตอบสนองปัญหา/ความเสี่ยง/เป้าหมายของNSO และกระบวนการดูแลผู้ป่วย โดยเชื่อมโยงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพอื่น
ประเมินผล CQI ภายในกพย.อย่างสม่ำเสมอ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ประเมินผล CQI ภายในกพย.อย่างสม่ำเสมอ นำผลการประเมินผลงาน CQI ภายในการพยาบาลมาปรับปรุงคุณภาพการดูแลรักษา ร่วมกับสหวิชาชีพและปรับปรุงระบบ/กระบวนการบริหารการพยาบาล
กิจกรรมคุณภาพ การประเมินผลงานภายใน การทบทวนตัวชี้วัด การทบทวนการดูแลภายในวิชาชีพและร่วมกับวิชาชีพอื่น การทำ Nursing audit
ความคาดหวังต่อระบบการบริหารการพยาบาล มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการที่มีคุณภาพสูงเพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร
เป้าหมาย บุคลากรมีความรู้ ทักษะในเชิงวิชาชีพ และจำนวนเหมาะสมกับภาระงาน, ผู้ป่วยมีความปลอดภัย ดูแลตนเองได้
ประเด็น/pitfall
ความเพียงพอของบุคลากรทางการพยาบาล ประเด็น /pitfall expectation มีการประเมินความพอเพียงของกำลังคนด้านการพยาบาลในแต่ละหน่วยชัดเจนมากขึ้น ด้วยการหา work load /productivity แต่ยังมีบ้างมุ่งเน้นเฉพาะผู้ป่วยใน ทีมบริหารเข้าใจในเป้าหมาย หลักเกณฑ์ในการประเมินความเพียงพอของบุคลากรทางการพยาบาลที่เหมาะสมกับบริบทโรงพยาบาล
ความเพียงพอของบุคลากรทางการพยาบาล ประเด็น /pitfall expectation ส่วนใหญ่จะยังไม่ใช่ข้อมูลที่เป็นจริงของโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ทำให้ พรพ. ดู รวมทั้งขาดการนำข้อมูลที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการบริหารประจำวัน ทีมบริหารการพยาบาลเกิดการเรียนรู้หลักเกณฑ์/แนวทางการประเมินดังกล่าวแม้ยังไม่ใช่ข้อมูลที่แท้จริงของโรงพยาบาล รวมทั้งวสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารอัตรากำลังในประจำวันได้ค่อนข้างใกล้เคียงกับสถานการณ์จริง
ความเพียงพอของบุคลากรทางการพยาบาล ประเด็น /pitfall expectation productivity ที่คำนวณได้ยังไม่สามารถบอกผลผลิตทางการพยาบาลในเชิงคุณภาพได้อย่างแท้จริง สามารถพัฒนาไปสู่การประเมินความเพียงพอของอัตรากำลังที่เป็นจริงของโรงพยาบาลได้ในอนาคต และนำผลของ productivity ไปใช้ประโยชน์ในการบอกผลผลิตในเชิงคุณภาพได้อย่างแท้จริง
กลไกกำกับติดตามงาน ประเด็น /pitfall expectation การกำกับติดตามควรมองทั้งด้านการบริหารและทางคลินิก ควรเพิ่มเติมปัญหาที่พบจริงจากการนิเทศ, การจัดการที่ทำ ระบุผลลัพธ์และ ผลกระทบ จากการตัดสินใจ/แก้ปัญหาไปด้วย วงจร PDCA ของการนิเทศ…รวมทั้งควรประสานกับทีม RM รวมทั้งทีมบริหารการพยาบาลควรการนำผลการนิเทศมาใช้ประโยชน์ ประเด็น /pitfall มีการดำเนินการต่อเนื่องในรูปแบบการนิเทศ ประเด็นการนิเทศส่วนใหญ่..มุ่งเน้นด้านการบริหาร มากกว่าด้านคลินิก กรณีทางคลินิกเน้นแต่ประเด็นพฤติกรรมบริการ
การส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ประเด็นที่มุ่งเน้น ประเด็น /pitfall expectation มุ่งเน้นที่การอบรม มุ่งให้มีการนำกระบวนการพยาบาลไปใช้ 100%รูปธรรมที่พบส่วนใหญ่มุ่งไปการออกแบบบันทึกการพยาบาลเพื่อให้เขียนบันทึกทางการพยาบาลครบกระบวนการพยาบาลทุกขั้นตอน มากกว่าเน้นการให้ปฏิบัติ การกำกับติดตามเน้นการตรวจสอบบันทึกทางการพยาบาลแต่พบว่า ยังเน้นที่ปริมาณมากกว่าเชิงคุณภาพ ส่งเสริมให้สามารถใช้กระบวนการพยาบาลที่หน้างานในการ ประเมิน วางแผนในการให้การพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับแผนการรักษาของแพทย์
การพัฒนาบุคลากรทางการ ประเด็น /pitfall expectation พยาบาลจะมุ่งเน้นที่การฝึกอบรมเป็นส่วนใหญ่ และเนื้อหาการฝึกอบรมยังขาดการนำผลจากการนิเทศ /ความเสี่ยงที่มีการติดตามรวมทั้ง ผลการติดตามเครื่องชี้วัดมาใช้ประโยชน์ การหา training need ที่ตรงประเด็น และกระบวนการพัฒนาบุคลากรควรเน้นที่หน้างาน ( on the job training )
ความเสี่ยง/การบริหารเรื่องคุณภาพ ประเด็น /pitfall expectation วางระบบบริหารความเสี่ยงแยกจากระบบใหญ่ ขาดการติดตามแนวโน้มความเสี่ยง และมีปัญหาในเรื่องการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ขาดการนำข้อมูลแนวโน้มมาใช้ประโยชน์ ระบบบริหารความเสี่ยงควรเชื่อมโยงกับระบบใหญ่ มีการติดตามแนวโน้มความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลที่สามารถสะท้อนให้เห็นความแรงและขนาดของปัญหา รวมทั้งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการแปลผลประสิทธิภาพการบริหารได้
การวัดผล ประเด็น /pitfall expectation ส่วนใหญ่เป็นเครื่องชี้วัดที่เป็น nursing pure เครื่องชี้วัดไม่ครอบคลุมและไม่ตอบสนองต่อเป้าหมาย/ประเด็นสำคัญของระบบ เป็นเครื่องชี้วัดที่ไม่ไวในการพัฒนา การทบทวนเครื่องชี้วัดจะมุ่งเน้นเฉพาะเครื่องชี้วัดที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ขาดการนำเครื่องชี้วัดที่ติดตามมาอย่างต่อเนื่องไปใช้ประโยชน์ ในการแปลผลประสิทธิภาพของระบบ เครื่องชี้วัดควรตอบสนองต่อเป้าหมาย/ประเด็นสำคัญของระบบ มีความไวพอในการพัฒนา มีการติดตามแนวโน้มของเครื่องชี้วัดชัดเจน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการแปรผลประสิทธิภาพระบบการบริหารได้
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) Overall Req. มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูง เพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 5 บันทึก ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน
สวัสดีค่ะ