Animation (ภาพเคลื่อนไหว)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
Chapter 6 : Video.
Chapter 2 : Character and Fonts
Packet Tracer Computer network.
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
นายรุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ์
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
โดยการใช้ Layer และ Timeline
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรม SwishMAX.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
Computer Graphics Image Processing 1.
บทที่ 2 ประเภทของงานกราฟิกส์
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
Background / Story Board / Character
Symbol & Instance.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ Adobe ImageReady.
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
ความหมายของแอนิเมชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
เสริมเว็บให้ดูสวย.
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
Macromedia flash 8.
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
Animation update.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Animation (ภาพเคลื่อนไหว) นางสาวศิรินทิพย์ จันทร์สุวรรณ Animation (ภาพเคลื่อนไหว) รวบรวมโดย AngelaTUK

Animation การทำให้วัตถุใดๆเกิดการเคลื่อนที่ด้วยรูปแบบต่างๆกันบนจอภาพ เช่น คนเดิน รถวิ่ง บนถนน แมลงบิน ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ด้วยรูปแบบต่างๆ

Animation ในปัจจุบัน การ์ตูน animation ภาพยนตร์ animation

หลักการของการทำ Animation อาศัยหลักการทางชีววิทยา คือ“ความต่อเนื่องของการมองเห็น” การทำให้วัตถุเคลื่อนในความเร็วระดับหนึ่ง จนตาคนเรามองเห็น ภาพแต่ละภาพที่นำมาทำ animation เรียกว่า frame โดยกำหนดความละเอียดของ Animation ทั่วไปดังนี้ TV 30 frame/second Movie , Animation 24 frame/second

วิธีการสร้าง Animation Frame by Frame Tween Animation Action Script

Frame by Frame นำภาพมาใส่ไว้ในเฟรม ทำการกำหนด Key Frame เปลี่ยนแปลง 3. Blank Keyframe คือเฟรมเปล่าๆ (มีวงกลมสีขาว) นำภาพมาใส่ไว้ในเฟรม ทำการกำหนด Key Frame Key frame=frame ที่ถูกกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงของวัตถุเพื่อสร้างการเคลื่อนไหว การกำหนดคีย์เฟรมที่มีช่องว่างห่างกัน ภาพที่เปลี่ยนแปลงอาจกระตุกได้ เหมาะกับภาพที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อน

Sample Frame 1 Frame2 Animation

Tween Animation เป็นการสร้างภาพโดยกำหนดคีย์เฟรมเริ่มต้นและคีย์เฟรมสุดท้ายแล้วปล่อยให้โปรแกรมสร้างความเปลี่ยนระหว่างเฟรมโดยอัตโนมัติ มี 3 แบบ Motion Tween:เคลื่อนไหวโดยรูปทรงวัตถุไม่เปลี่ยนแปลง ใช้เครื่องมือ 3D ร่วมด้วยได้ Classic Tween:เคลื่อนไหวโดยรูปทรงวัตถุไม่เปลี่ยนแปลง Shape Tween:เคลื่อนไหว โดยรูปทรงวัตถุเปลี่ยนแปลง ไปเป็นอีกรูปหนึ่ง ไฟล์มีขนาดเล็ก การเคลื่อนไหวนุ่มนวลมากกว่า Frame by Frame

Action Script เป็นภาษาโปรแกรมที่นำใช้เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน สามารถทำการตอบโต้กับผู้ใช้ได้(Interactive) Action script ถูกนำมาใช้เมื่อมีการกระทำเกิดขึ้น(Event)

เทคนิคการสร้าง Aimation กำหนดการเคลื่อนไหวที่ต้องการให้หมด animation ที่ซับซ้อน ควรเขียน Script ช่วยในการเคลื่อนไหว เพิ่มเทคนิคพิเศษด้านต่างและเสียงใส่เข้าไป Cel animation เป็นแผ่นใสสำหรับวาดภาพ สเก็ตภาพแล้วลงสี Computer Animation คล้ายกับ Cel คือสร้างภาพเป็นเฟรมให้แตกต่างกัน แล้วกำหนดคีย์เฟรมใช้วิธีการ Tween animation

Cel animation (วาดภาพในแผ่นใสแล้วละบายสี) การบ้าน ให้นักเรียน วาดภาพการ์ตูนลงบนกระดาษไขสำหรับวาดภาพ แล้วระบายสี 4 ท่าทาง

ลักษณะ Animation 2D & 3D Adobe Flash Maya

Animation File Format GIF(Graphics Interlace File) ได้รับความนิยม ไฟล์มีขนาดเล็ก ใช้ภาพนิ่งทำลำดับภาพให้ต่อเนื่องกัน ใช้ 256 สี ไม่สนับสนุนการใช้เสียงประกอบ

Animation File Format JPG (Jonit Photographer’s Expert Group) ไฟล์ภาพใช้งานบนเครือข่าย มีความละเอียดสูง(24 bit) สามารถกำหนดระดับการบีบอัดได้(1-10) เพื่อให้ได้ไฟล์มีขนาดเล็ก ไม่สามารถทำพื้นโปร่งใสได้ การส่งภาพผ่านผ่านเครือข่ายทำได้ช้ามาก เพราะต้องเสียเวลาในการคลายภาพ

Animation File Format PNG(Portable Network Graphics) ไฟล์ภาพทำให้โปร่งใสได้ สนับสนุนความละเอียด 16 bit,32 bit และ 24 bit ระบบแสดงผลจากความละเอียดน้อยแล้วค่อยๆขยายความคมชัด สามารถกำหนดระดับการบีบอัดเพื่อให้ได้ไฟล์มีขนาดเล็ก Browser รุ่นเก่าจะใช้ไม่ได้ต้อง IE 4 หรือ Netscape 4 ขึ้นไป

Software Flash Player Flash Shockwave Macromedia director TrueSpace SWISH etc...

The End