โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การประชุม พิจารณาแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาฯ ปี 2557 ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 24 กันยายน
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสอีโบลา ในภูมิภาคอาฟริกาตะวันตก สำนักระบาดวิทยา กรม ควบคุมโรค
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข วันที่
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เสนอต่อคณะรัฐมนตรีฯ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗

สถานการณ์ WHO ณ วันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ รายงานผู้ป่วยในประเทศ แถบแอฟริกา จำนวน ๔ ประเทศ ได้แก่ กินี ไลบีเรีย เซียร์รา ลีโอน และเมืองลากรอส ไนจีเรีย จำนวน ๒,๖๑๕ ราย เสียชีวิต ๑,๔๒๗ ราย มีรายงานผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เสียชีวิต ๒ ราย ที่ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก พบว่า เป็นคนละสาย พันธุ์กับที่ระบาดที่ประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก ยังไม่พบ การติดเชื้อนอกทวีปอาฟริกา รวมถึงประเทศไทย

แสดงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เป้าหมายการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในประเทศ สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, ไม่พบผู้ป่วย ในประเทศ เป้าหมาย : เตรียมพร้อม และ ตรวจจับการระบาดได้รวดเร็ว พบผู้ป่วยและมีประวัติเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด ในประเทศ เป้าหมาย : ควบคุมโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย (Rapid containment) สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, สธ., มท., กต., ก.เกษตรและสหกรณ์, ก.ทรัพยาฯ, ก.วิทย์ฯ, สำนักนายกฯ, ก.คมนาคม, ก.แรงงาน, ก.กลาโหม, ก.ศึกษาฯ และมหาวิทยาลัย, ส.อุดมศึกษา(รพ.สังกัดคณะแพทยศาสตร์), ก.พาณิชย์, พบการระบาดของโรค ในประเทศ เป้าหมาย : ควบคุมโรคไม่ให้กระจายวงกว้าง และบรรเทาความสูญเสีย

การดำเนินงาน ผู้ป่วย - ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน - ผู้ป่วยสงสัย - ผู้ป่วยน่าจะเป็น - ผู้ป่วยยืนยัน ห้องแยกโรค ๑๓๐ ห้อง ในโรงพยาบาลทั่วส่วนกลางและภูมิภาค ๙๕ แห่ง ผู้สัมผัส - เสี่ยงสูง กักกัน รพช., ค่ายทหาร ทุกจังหวัด - เสี่ยงต่ำ ติดตามจนพ้นระยะฟักตัวของโรค ๒๑ วัน

มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย ดำเนินการสอดคล้องกับ กับประกาศขององค์การอนามัยโลก ดังนี้ ๑. การจัดระบบเฝ้าระวังโรค และคัดกรอง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดำเนินการคัดกรองผู้ที่เดินทางมาจากประเทศที่พบโรค โดยการซักประวัติสุขภาพ วัดอุณหภูมิร่างกาย และมีการติดตามผู้ที่เดินทางมาจากประเทศ ที่พบการระบาดของโรคทุกวัน จนกว่าจะครบ ๒๑ วัน ดำเนินการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการไข้ ๓๘ องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับมีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง ๒๑ วันก่อนเริ่มป่วย ในโรงพยาบาลและในชุมชน

มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) ๒. การดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล สถานพยาบาลมีห้องแยกผู้ป่วยทุกจังหวัด และให้ปฏิบัติตามหลักการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัด การรักษาผู้ป่วย ให้ปฏิบัติตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุมป้องกันการติดเชื้อจากกรมการแพทย์ ทั้งนี้มีการคำปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด ๒๔ ชั่วโมง

มาตรการป้องกันควบคุมโรคของไทย (ต่อ) ๓. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทั่วประเทศ เพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ๔. สื่อสารความเสี่ยง ไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ๕. การบริหารจัดการ กระทรวงสาธารณสุข เปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานและสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติทั่วประเทศ จัดประชุมผู้เชี่ยวชาญ เพื่อประเมินสถานการณ์และความเสี่ยง พร้อมทั้งปรับมาตรการในการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

ความเห็นชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มติการประชุมคณะกรรมการอำนวยการการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติหม่แห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เห็นชอบกรอบมาตรการเตรียมความพร้อม ๕ ด้าน การจัดระบบการเฝ้าระวังโรคทั้งในคนและในสัตว์ การดูแลผู้ป่วยและการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล การพัฒนาระบบการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ การสื่อสารความเสี่ยง การบริหารจัดการแบบบูรณาการหลายภาคส่วน โดยมีศูนย์ประสานปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สั่งการเชื่อมโยงการทำงานทั้งประเทศ กรณีพบผู้ป่วยอีโบลา

ภาพรวมที่เสนอคำของบกลาง กรณี โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ภาพรวมที่เสนอคำของบกลาง กรณี โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

สรุปงบประมาณรวม ๑๑๖.๘๐๒๕ ลบ. หน่วย : ล้านบาท รายการ งปม. ที่ต้องใช้ งปม. อนุมัติหลักการ รวมทั้งสิ้น 43.8426 72.9600 ๑.เฝ้าระวังผู้เดินทางระหว่างประเทศ (ด่านฯ) 0.2086 - ๒. ค่าตอบแทนเสี่ยงภัยสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสอบสวนป้องกัน 5.4000 6.7200 ๒.๑ เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรค ๒.๒ สอบสวนโรคผู้สงสัย ๓. อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย (PPE) 19.2402 ๔. สนับสนุนยา และเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 31.8000 ๕. ค่าตอบแทนเสี่ยงภัยสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรักษา 34.4400 ๖. สนับสนุนวัสดุวิทยาศาสตร์ 1.0800 ๗. สื่อสารความเสี่ยงเพื่อการป้องกันโรค 13.1636 ๘. ซ้อมแผน (ปภ.) 4.7500