การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
Palliative Care e-Claim.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557 ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการได้รับการดูแลอย่างครบวงจร วัตถุประสงค์ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และได้รับอุปกรณ์ที่เหมาะสม พร้อมทั้งการฝึกการใช้อุปกรณ์เฉพาะราย เป้าหมาย คนพิการทุกประเภทเข้าถึงบริการฟื้นฟูฯ และได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมอย่างครอบคลุมและทั่วถึง มีการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง คนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M กองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟู อย่างน้อย 3 ประเภทความพิการต่อเขต

แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์

สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556 รายละเอียด ปี 57 1. งบประมาณ งบค่าบริการ/อุปกรณ์ จัดสรรไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/ปชก.UC งบสนับสนุนส่งเสริม จัดสรรไม่เกิน 1.50 บาท/ปชก.UC เกณฑ์คำนวณการจัดสรร 2.1 งบค่าบริการฟื้นฟูฯและอุปกรณ์เครื่องช่วยตามจำนวนปชก.UC : ท.74 : ผลงานการให้บริการ สัดส่วน 30:40:30 2.2 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ตามจำนวนปชก.UC:ท.74 สัดส่วน 50:50 2.3 แยกงบเฉพาะบริการ O&M และจัดสรรเครื่องช่วยฟัง 2. การจัดบริการ 1) บริการเครื่องช่วยฟัง 1.1 กำหนดโควตาให้แต่ละพื้นที่ตามความจำเป็นของความต้องการ และความสามารถในการให้บริการของหน่วยบริการ วงเงินสนับสนุน ร้อยละ 10 ของงบค่าอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูฯ 1.2 โครงการนำร่องโดยความร่วมมือกับ NECTEC เป้าหมาย 1,000 เครื่อง/ พื้นที่เป้าหมาย/หน่วยบริการ คัดเลือกจากหน่วยบริการที่มีความพร้อม ตามความสมัครใจทุกเขต 2) อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ สนับสนุนตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศ และ รายการซ่อมแซม ยกเลิกรายการอื่นๆ ตามความจำเป็น 3. การจัดสรร ค่าบริการ 1) จัดสรรให้หน่วยบริการ ตามผลงานการให้บริการ ภายในวงเงินที่ได้รับ จัดสรร 2 งวด งวดที 1) จัดสรรล่วงหน้า 60% ตามผลงานที่ผ่านมา ภายใน ธค.56 งวดที่ 2) จัดสรรตามผลงานการให้บริการ (คำนวณปิด Global ผลงาน 3 เดือนสุดท้าย ของปี56+9 เดือนของปี57) ภายในเดือน สค.57 2) กรณีรับบริการข้ามเขต - สปสช.เขต ส่งเบิกจากงบส่วนกลาง 3) กำหนดอัตราจ่ายชดเชยค่าบริการ การให้บริการฟื้นฟูรายกลุ่มในแต่ละกิจกรรม

กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 730.337 ลบ. เหมือนปี2556 POP UC = 48.852 ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/657.059 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/73.278 ลบ.) สำหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วย บริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนา องค์ความรู้ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ 1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD) และในชุมชน  จ่ายตามผลงานการให้บริการ ภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ UC, วดป.ที่ให้บริการ - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ อัตราการจ่ายค่าบริการ รายกลุ่ม - กิจกรรมบำบัด ครั้งละ 75 บาท พฤติกรรมบำบัด ครั้งละ 150 บาท จิตบำบัด ครั้งละ 150 บาท

2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ  เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช. กำหนด  ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซม  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ

แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 1) การจัดบริการในกรณีปกติ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการ ตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด ภายในเดือน ธันวาคม 2556 (เฉพาะหน่วยบริการใหม่) - สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ และรายงานผลหน่วยบริการ ที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม ภายในเดือน มกราคม 2557  วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร  เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก H900, H903, H906, Z461 รหัสหัตถการ 9548 (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก )

แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 2) การจัดบริการในโครงการนำร่อง - เป้าหมายการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 1,000 เครื่อง - พื้นที่/เป้าหมาย หน่วยบริการที่มีความพร้อมและสนใจ คัดเลือกโดย สปสช. ส่วนกลางร่วมกับเขตและประสานหน่วยบริการแจ้งความจำนงเข้าร่วม โครงการ ภายในเดือน ธันวาคม 2557 - หน่วยบริการไม่ต้องสำรองจ่ายเงินก่อน - NECTEC/บริษัทผลิตจัดส่งเครื่องช่วยฟังให้หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ - สปสช. ร่วมกับ NECTEC ติดตามผลการดำเนินงานโครงการนำร่อง

3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว (O&M)  เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ เป้าหมาย 3,000 ราย  ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ  ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ครอบคลุมกิจกรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้  รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน

การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ

ข้อมูลการกำกับติดตาม รายการ แหล่งข้อมูล 1. บริการฟื้นฟูฯ และการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ excel file 3. งบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟู รายงานผลงานตามสัญญา/ข้อตกลง/โครงการ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 4. ติดตามการใช้จ่ายงบกองทุน Budget report