การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
4. Research tool and quality testing
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การแจกแจงปกติ.
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การวัดและประเมินผล.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 1) ความตรง (Validity) 2) การหาค่าความยากง่าย (Difficulty) 3) การหาค่าอำนาจจำแนก (Discrimination Power) 4) ความเที่ยง (Reliability)

ความตรง (Validity) วิธีดำเนินการ R ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC-Index of Item Objective Congruence) วิธีดำเนินการ ให้ผู้เชี่ยวชาญตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามในเครื่องมือกับเนื้อหาที่ต้องการวัด จากนั้นนำผลการประเมินมาคำนวณค่า IOC โดยใช้สูตร IOC = R N เมื่อ R แทน ผลรวมของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์ตัดสิน IOC ควรมีค่ามากกว่า 0.5

ตัวอย่าง ตารางการหาค่า IOC ความตรง (Validity) ตัวอย่าง ตารางการหาค่า IOC ตัวชี้วัดตามมาตรฐาน ผลการประเมิน -1 1 ข้อสอบ 2. 1. - 1 หมายถึง ไม่สอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจ 1 หมายถึง สอดคล้อง

ตัวอย่าง การคำนวณหาค่า IOC ความตรง (Validity) ตัวอย่าง การคำนวณหาค่า IOC ข้อคำถาม คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 IOC ข้อ 1 1 4/5=0.8 ข้อ 2 -1 -1/5=-0.2 เกณฑ์การพิจารณา ข้อสอบที่ใช้ได้ คือ ข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป สรุป... ข้อสอบข้อ 1 มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม สามารถนำไปใช้สอบได้ ข้อสอบข้อ 2 ไม่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ไม่ควรนำไปใช้ ต้องตัดทิ้ง หรือปรับปรุงใหม่

ความยากง่าย (Difficulty) ระดับความยากง่าย หมายถึง สัดส่วน หรือเปอร์เซ็นต์ของจำนวนคนที่ตอบข้อสอบ ข้อนั้นถูกจากคนที่สอบทั้งหมดใช้สัญลักษณ์ “p”

ความยากง่าย (Difficulty) ค่าความยากง่าย (Difficulty Index) มีค่าตั้งแต่ 0.00 จนถึง 1.00 เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าความยากง่าย ค่า p = 0.00-0.19 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นยากเกินไป ค่า p = 0.20-0.39 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นค่อนข้างยาก ค่า p = 0.40-0.59 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นยากง่ายปานกลาง ค่า p = 0.60-0.79 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นค่อนข้างง่าย ค่า p = 0.80-1.00 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นง่ายเกินไป เกณฑ์: ข้อสอบที่มีค่าความยากง่ายพอเหมาะ หรือมีคุณภาพดี ค่า p ใกล้เคียง 0.50 หรือ อยู่ระหว่าง 0.20 – 0.80

ความยากง่าย (Difficulty) 1. ตรวจและเรียงคะแนนรวมจากสูงสุดถึงต่ำสุด 4. วิเคราะห์ค่าความยาก (p) PH = —— PL = —— L TL H TH H รวมคะแนนกลุ่มสูง L รวมคะแนนกลุ่มต่ำ TH รวมคะแนนเต็มกลุ่มสูง TL รวมคะแนนเต็มกลุ่มต่ำ 2. แบ่งกลุ่มสูง (H) และกลุ่มต่ำ (L) 3. คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จำแนกตามกลุ่ม • p = ———— PH + PL 2

แบบสอบความเรียงมี 5 ข้อ แต่ละข้อคะแนนเป็น 10,10,20,30,30 คะแนน ตามลำดับ ใช้สอบนักเรียน 8 คน ตรวจให้คะแนน และเรียงลำดับคะแนนจากมากไปน้อย (อันดับ 1-8) แบ่งนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม(เทคนิค 50%) ได้กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ กลุ่มละ 4 คน การวิเคราะห์ข้อสอบต้องรวมรายข้อของผู้สอบทุกคนแต่ละกลุ่ม ข้อ คะแนนเต็ม กลุ่มสูง (H) (4 คน) กลุ่มต่ำ (L) (4 คน) 1 2 3 4 5 6 7 8 10 9 20 15 17 30 25 24 16 13 11 รวม 100 80 70 68 61 60 48 43

ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ คะแนน เต็ม กลุ่มสูง (4 คน) กลุ่มต่ำ PH PL Pi 1 10 37 40 28 .93 .70 .81 2 36 24 .90 .60 .75 3 20 67 80 42 .84 .53 .68 4 30 94 120 56 .78 .47 .62 5 43 26 .36 .22 .29 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ข้อ 5 ค่อนข้างยาก อำนาจำแนกต่ำ

ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power)

ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power) มีค่าตั้งแต่ -1.00 จนถึง 1.00 เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก ค่า r = -1.00-0.19 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกไม่ได้เลย ค่า r = 0.20-0.39 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้เล็กน้อย ค่า r = 0.40-0.59 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ปานกลาง ค่า r = 0.60-0.79 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ดี ค่า r = 0.80-1.00 หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ดีมาก เกณฑ์ : ข้อสอบที่มีคุณภาพดี ค่า r ตั้งแต่ +0.20 ขึ้นไป

ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power) 1. ตรวจและเรียงคะแนนรวมจากสูงสุดถึงต่ำสุด 2. แบ่งกลุ่มสูง (H) และกลุ่มต่ำ (L) 3. คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จำแนกตามกลุ่ม H TH L TL PH = —— PL = —— H รวมคะแนนกลุ่มสูง L รวมคะแนนกลุ่มต่ำ TH รวมคะแนนเต็มกลุ่มสูง TL รวมคะแนนเต็มกลุ่มต่ำ 4. วิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนก (r) r = PH – PL

ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ คะแนน เต็ม กลุ่มสูง (4 คน) กลุ่มต่ำ PH PL ri 1 10 37 40 28 .93 .70 .23 2 36 24 .90 .60 .30 3 20 67 80 42 .84 .53 .31 4 30 94 120 56 .78 .47 5 43 26 .36 .22 .14 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ข้อ 5 ค่อนข้างยาก อำนาจำแนกต่ำ

การคัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพ -1 -.9 -.8 -.7 -.6 -.5 -.4 -.3 -.2 -.1 .1 .2 .3 .4 .5 .6 .7 .8 .9 1 ค่าความยากง่าย (p) 4 เกณฑ์: ข้อสอบที่มีคุณภาพ p = 0.20 – 0.80 r = +0.20 ขึ้นไป 1 3 2 5 ค่าอำนาจจำแนก (r)

ความเที่ยง (Reliability) การทดสอบโดยการหาความสอดคล้องภายในเป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบ ทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความ สัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ สูตรในการหาค่าความเชื่อมั่น: สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach) Alpha () =