หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบอัตนัยและเขียนตอบตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA) หน่วยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีความรู้ ของ Bloom และลักษณะของแบบทดสอบvอัตนัย (Essay) 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ที่เกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย(Essay ) สาระสำคัญ 1. แนวคิด ทฤษฎีความรู้ของ Bloom’s Taxonomy Revised 2. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Essay)  

ทฤษฎีความรู้ของบลูม

ลักษณะของข้อสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ข้อสอบปรนัย ข้อสอบอัตนัย สถานการณ์ที่เป็นข้อมูล/ภาพ/กราฟ/แผนภูมิ ข้อคำถาม ตัวเลือก คำตอบ ................................................................ ตัวลวง ............................................................... เฉลย เกณฑ์การให้คะแนน /แนวการตอบคำถาม

ระดับพฤติกรรมข้อสอบปรนัย/อัตนัย ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัยเลือก ตอบ

รูปแบบข้อสอบอัตนัยที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 1.แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion Item) 2.แบบตอบสั้น (short-answer essay) 3.แบบไม่จำกัดคำตอบ (Extened-answer essay)

ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม รูปแบบที่ 1 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion Item) มีลักษณะเป็นข้อคำถามที่เว้นคำหรือวลีไว้แล้วให้ผู้เข้าสอบเติมคำหรือวลีที่เป็นคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว จำ (Remembering) จุดเด่น - ออกข้อสอบได้ปริมาณมาก ครอบคลุมเนื้อหา - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน

รูปแบบที่ 2 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ เข้าใจ นำไปใช้ ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม รูปแบบที่ 2 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคำตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เข้าใจ นำไปใช้ จุดเด่น - ออกข้อสอบได้ในระดับพฤติกรรมที่สูงกว่าขั้นจำ - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน

ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม รูปแบบที่ 3 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคำตอบหรือให้เหตุผลประกอบคำตอบที่แสดงความเข้าใจที่มีต่อคำถาม สังเคราะห์ ประเมินค่า วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ จุดเด่น - วัดความรู้ความคิดในการบูรณาการเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่นๆได้อย่างชัดเจน - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 1.จำ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุ บอกชื่อได้ การบอกชื่อ การบอกตำแหน่ง การให้สัญลักษณ์ ยกตัวอย่าง บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้ อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลำดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 2. เข้าใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปล ความหมาย ยกตัวอย่าง สรุปอ้างอิง การเรียบเรียงใหม่ การจำแนกหมวดหมู่ สังเกต ทำเค้าโครงเรื่อง ให้คำจำกัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 3. ประยุกต์ใช้ (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนำไปใช้ ประยุกต์ใช้ แก้ไขปัญหา ลงมือทำ แปลความหมาย ใช้ภาพประกอบ การ คำนวณ เรียงลำดับ การแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ คาดคะเน

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 4. วิเคราะห์ (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ การจัดการ ทดลอง แยกกลุ่ม คำนวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลำดับ เรื่อง ทำแผนผัง หาความสัมพันธ์

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 5. ประเมินค่า (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน ให้คะแนน ประมาณค่า เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนำ สืบค้น ตัดสินใจ คัดเลือก วัด

กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 6. คิดสร้างสรรค์ (Creating) หมายถึง ความสามารถใน การออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ออกแบบ ทำนาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง