การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
ความหลากหลายของสัตว์
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
Insect Antennae.
ตัวห้ำ 1 ด้วง COLEOPTEROUS PREDATORS.
Class Amphibia อ.แน็ต.
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
(FUNGUS-FARMING INSECTS)
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
BIO-ECOLOGY 2.
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การเจริญเติบโตของร่างกาย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ขาของแมลง (Insect Legs)
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ด้วงกว่าง.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง บทปฏิบัติการที่ 7 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง (Metamorphosis and Growth in Insects) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของแมลงเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มมีการเจริญเติบโต โดยที่แมลงแต่ละชนิดมีรูปแบบการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างดังนี้; ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (Ametabolous) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบง่าย (Paurometabolous) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบซับซ้อน (Hypermetabolous)

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (Ametabolous)คือ แมลงที่ฟักจากไข่จะมีมีรูปร่างเหมือนตัวที่เจริญวัยเต็มที่แล้ว ยกเว้นแต่ขนาดลำตัวที่ขยายใหญ่ขึ้น เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด

2. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบง่าย (Paurometabolous) คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเล็กน้อยในระหว่างการเจริญเติบโต3 มี ขั้นตอนคือ ไข่ ตัวอ่อน ตัวเต็มวัย โดยที่ระยะตัวอ่อนเรียกว่า นิ้ม(Nymph) ซึ่งมีลักษณะรูปร่างความเป็นอยู่ตลอดจนการกินอาหารเหมือนตัวเต็มวัย ยกเว้นลักษณะเล็กๆน้อยๆ บางอย่างซึ่งจะค่อยๆพัฒนาในที่สุด เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ จิ้งหรีด ปลวก เพลี้ย มวน

3. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis, Hemimetabolous) คือ คล้ายคลึงกับแบบที่2 ยกเว้นระยะตัวอ่อนเรียกไนแอด(Naiad) ซึ่งมีลักษณะรูปร่างความเป็นอยู่ตลอดจนการกินอาหารไม่เหมือนตัวเต็มวัย ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ ส่วนตัวเต็มวัยอาศัยอยู่บนบก เช่น สโตนฟลาย ชีปะขาว แมลงปอ

การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis, Holometabolous) มี4 ขั้นตอนคือ ไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัย ดักแด้ของแมลงบางชนิดมีรังห่อหุ้มเรียกค๊อกคูน เช่น หนอนไหม แมลงนอกจากนี้เช่น แมลงช้าง แมลงป่อง หนอนปลอกน้ำ ผีเสื้อ แมลงวัน ด้วงปีกแข็ง ผึ้ง ต่อ แตน

5. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบซับซ้อน (Hypermetabolous) คล้ายคลึงกับแบบที่ 4 ยกเว้นตัวหนอนแต่ละระยะจะมีแบบแตกต่างกัน เช่น ตัวหนอน ระยะแรกเป็นแบบ แคมโปดิฟอร์ม ระยะที่สองเป็นแบบ สคาราบีฟอร์ม การเปลี่ยนแปลงแบบ นี้เกิดกับแมลงบางชนิด เช่น ด้วงน้ำมัน

รูปแบบต่างๆของตัวหนอนมีดังนี้; แคมโปดีฟอร์ม(campodeiform) ลำตัวยาวแบน ขาจริง หนวด และแพน หางเจริญดี เคลื่อนไหวเร็ว เช่น ตัวอ่อนแมลงช้าง หนอนด้วงดิน

- อีรูซิฟอร์ม(eruciform) ส่วนหัวเจริญดี มีขาจริง3 คู่ และขา เทียม เช่น หนอนผีเสื้อ หนอนแมลงป่อง หนอนต่อฟันเลื่อย

- เวอร์มิฟอร์ม(vermiform) ส่วนหัวไม่เจริญ ไม่มีขา เคลื่อนที่โดยการดีด ตัวไป เช่น หนอนแมลงวัน หนอนตัวเบียน หนอนผึ้ง

- สคาราบีฟอร์ม(scarabaeiform) ขาจริงสั้นไม่มีขาเทียม ตัวหนอน

- อีลาเทริฟอร์ม(elateriform) ลำตัวยาวรูปทรงกระบอกมีผนังลำตัวแข็ง ขาจริงสั้นตัวอ่อนของเช่น ด้วงในวงศ์ Elateridae และTenebrionidae

แบบต่างๆ ของดักแด้ เอ๊กซาเรท(exarate) ระยางค์ส่วนขาและปีกเจริญอยู่ภายนอกลำตัว เช่น ดักแด้ด้วง ต่อ แตน

- อ๊อปเทค(obtect) ระยางค์ส่วนขาและปีกเจริญอยู่ภายในลำตัว เช่น ดักแด้ ผีเสื้อ

- โคอาร์คเตท(coarctate) รูปร่างรี ระยางค์ส่วนขาและปีกอยู่ภายในลำตัว และมี ปลอกซึ่งเป็นผนังลำตัวเดิมหุ้มอยู่ เช่น ดักแด้แมลงวัน

ไข่แมลง(Insect egg(s)) แมลงส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโดยเริ่มจากไข่ โดยที่ไข่จะถูกสร้างในรังไข่ของเพศเมีย หลังจากไข่เจริญเต็มในรังไข่ของแมลงเพศเมียไข่ก็จะถูกปล่อยออกมาจากร่างกายทางอวัยวะวางไข่ ไข่ของแมลงแต่ละชนิดนั้นมี ขนาด ลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป เช่นมีลักษณะกลม แบน รูปไข่ ยาวรี เป็นต้น ลักษณะและรูปร่างไข่ของแมลงชนิดต่างๆ ดังจะได้แสดงต่อไปนี้

walnut caterpillar egg(s) periodical cicada egg(s) true bug eggs walnut caterpillar egg(s) periodical cicada egg(s) periodical cicada egg(s) Columbian timber Beetle egg(s) squash bug eggs pine beauty moth egg(s) lacewings and Allies egg(s) fall cankerworm egg(s) poplar tentmaker eggs boxelder bug egg(s) Pacific tent caterpillar egg(s) yellow poplar weevil egg(s) tawny emperor egg(s) butternut woolyworm egg(s)

emerald ash borer egg(s) wheel bug egg(s) fall webworm egg(s) emerald ash borer egg(s) lady beetle egg(s) Anthocoris tomentosus egg(s) European pine sawfly egg(s) mantid egg(s) American horse fly egg(s) convergent lady beetle egg(s) leaffooted pine seed bug egg(s) redhumped oakworm egg(s) bollworm egg(s) shieldbacked pine seed bug egg(s) seagrape sawfly egg(s)

southern red mite egg(s) Cockroach egg(s) Green lacewings eggs southern red mite egg(s) greenstriped mapleworm egg(s) Harlequin Bug egg(s) twig girdler egg(s) squash bug eggs