งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หนอนพยาธิ (Helminth).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หนอนพยาธิ (Helminth)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หนอนพยาธิ (Helminth)

2 Introduction to the worms
หนอนพยาธิ (Helminth) Introduction to the worms หนอนพยาธิ (The helminthic parasites) - เป็นพวกที่มีหลายเซลล์ (Multicellular) - มีลักษณะเป็น Bilaterally symmetrical animal - มี 3 germ layers

3 มีความสำคัญทางการแพทย์ เนื่องจากก่อโรค
ในสัตว์และในคน แบ่งออกได้เป็น 3 พวก ใหญ่ๆ คือ 1. Phylum Platyhelminthes 1.1 Class Cestoidea (Tapeworms) 2.2 Class Trematoda (Flukes) 2. Phylum Nematoda (Round worms) 3. Phylum Acanthocephala

4 1. Phylum Platyhelminthes
- รูปร่างแบน แบบ Dorso-ventrally - ลำตัวมีทั้งที่แบ่งเป็นปล้อง และ ไม่เป็นปล้อง - ไม่มีช่องว่างภายในลำตัว - ระบบทางเดินอาหารอาจมีหรือไม่มี

5 - มีระบบขับถ่าย - ระบบสืบพันธุ์ มีอวัยวะทั้ง 2 เพศ อยู่ใน ตัวเดียวกัน ( ยกเว้น พยาธิใบไม้เลือด ที่มีเพศแยกกัน) - พวกที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ได้แก่ 1.1 Class Trematoda (Flukes) - ได้แก่ พยาธิใบไม้ 1.2 Class Cestoidea (Tapeworms) - ได้แก่ พยาธิตัวตืด

6 1.1 Class Trematoda (Flukes)
- พยาธิใบไม้ - ลักษณะแบนคล้ายใบไม้ - ลำตัวไม่เป็นปล้อง - ลำไส้มีลักษณะเป็นรูปตัว Y หัวกลับ โดยที่ส่วนปลาย ( Posterior) ทั้ง 2 ข้าง จะตัน

7 - มี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน (ยกเว้น พยาธิ ใบไม้เลือด) - ระบบสืบพันธุ์ มีทั้ง Asexual และ Sexual Repro. Asexual Reproduction เพิ่มจำนวนตัวอ่อน Sexual Reproduction เพิ่มจำนวนโดยการออกไข่ - ติดต่อโดย การกินตัวอ่อน หรือ ตัวอ่อนไชเข้าผิวหนัง - ต้องการหอย ( snail , slug ) เป็น Intermediate host

8 1.2 Class Cestoidea (Tapeworms)
- พยาธิตัวตืด - ลักษณะลำตัว เป็นปล้องแบนต่อ กันเป็นเส้น ประกอบด้วย ส่วนหัว เรียกว่า Scolex (เป็นอวัยวะที่ใช้เกาะ ติดในลำไส้) ส่วนคอ เรียกว่า Neck

9 ปล้องอ่อน = Immature Segment ปล้องแก่ = Mature Segment
ส่วนลำตัว เรียกว่า Proglottids แยกเป็น ปล้องอ่อน = Immature Segment ปล้องแก่ = Mature Segment ปล้องสุก = Gravid Segment - อวัยวะสืบพันธุ์ มี 2 เพศ อยู่ในตัวเดียวกัน

10 2. Phylum Nematoda (Round worms)
- ลักษณะ กลม-ยาว - ไม่มีปล้อง - มีช่องว่างในลำตัว (Body cavity) - ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ สามารถใช้ในการแยกชนิดได้ ( ลักษณะปาก Esophagus Anus ใช้ใน การดูลักษณะของพยาธิแต่ละชนิดได้ )

11 - แยกเพศ เป็นตัวผู้ ตัวเมีย
- การสืบพันธุ์ มีทั้ง ออกไข่ และออกลูก เป็นตัว - การติดต่อ เกิดได้หลายวิธี คือ : กินไข่พยาธิ : พยาธิตัวอ่อนไชเข้าทางผิวหนัง : แมลงพาหะกัด : กิน cyst ที่มีตัวอ่อนอยู่ภายใน

12 3. Phylum Acanthocephala
- ลักษณะพิเศษ คือ ตัวจะประกอบด้วย Anterior proboscis มีปลอกหุ้ม และมีหนามและยืดหดได้ - มี 2 เพศ - ระยะตัวอ่อนฟักออกจากไข่ เมื่อแมลงที่ เป็นโฮสต์กินเข้าไป

13 ตารางเปรียบเทียบ Trematode , Cestode , Nematode

14

15


ดาวน์โหลด ppt หนอนพยาธิ (Helminth).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google