โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
Advertisements

แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การจัดการศึกษาในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต สุขภาพจิตกับการบูรณาการงานในยุคปัจจุบัน โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต 23 กรกฎาคม 2553

งานสาธารณสุข สุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตแข็งแรง

สุขภาพจิตแข็งแรง ไม่มีปัญหา มีปัญหา ปรับตัวหรือแก้ไขได้อย่างเหมาะสม สุขภาพจิตดี ช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม

ผลกระทบ ปัญหาสังคมในปัจจุบัน ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิต ของประชาชนไทย ปัญหาสังคมในปัจจุบัน ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิต ของประชาชนไทย วิกฤตทางการเมือง ภัยธรรมชาติ วิกฤต วิกฤตความ รุนแรงในสังคม ผลกระทบ วิกฤตโรคติดต่ออุบัติใหม่ วิกฤตทางเศรษฐกิจ สุขภาพจิตของประชาชน

จากการเจ็บป่วยทั้งหมด11 % แนวโน้มปัญหาสุขภาพจิต Trend of Mental Health Problem โรคทางจิต เป็นสาเหตุการตาย เพียง 1+ % Mortality Rate โรคทางจิต เป็นภาระสูญเสีย จากการเจ็บป่วยทั้งหมด11 % Barden of Diseases

การจัดอันดับความสูญเสียปีสุขภาวะ(DALY)ของคนไทย ปี พ.ศ. 2547 9 WHO คาดการณ์ว่าโรคซึมเศร้าเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียเป็น อันดับ 2 ของโลก ในปี 2563 6 6

วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต จะเป็นองค์กรมาตรฐานการพัฒนาสุขภาพจิต ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตของประเทศ เป็นศูนย์กลางประสานงานความร่วมมือทางวิชาการสุขภาพจิต ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นองค์กรที่มีการบริหารที่ดีเยี่ยม มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัว มีบุคลากรที่มีคุณภาพ เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย

ด้วยกระบวนการศึกษา วิจัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน พัฒนา ผลิต และถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่ายและประชาชน บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และทันต่อสถานการณ์แก่ผู้ป่วย ที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ด้วยกระบวนการศึกษา วิจัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

นโยบายกรมสุขภาพจิต ปี 2553 นโยบายกรมสุขภาพจิต ปี 2553 ดำเนินการศึกษาวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูด้านสุขภาพจิต ตลอดจนให้บริการสุขภาพจิตที่มีคุณภาพมาตรฐานแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยากซับซ้อน เพื่อมุ่งสู่เป้าประสงค์หลัก คือประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีภายใต้วัฒนธรรมที่ดี และค่านิยมหลักของกรมสุขภาพจิต รวมทั้งเน้นการดำเนินงานตามนโยบายปีแห่งทศวรรษ การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง

เป้าประสงค์หลัก ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี.... มีความรู้ ความเข้าใจ ในความสำคัญของสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ที่อยู่กับ ปัญหาสุขภาพจิต สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ทั้งของตนเอง ครอบครัว และผู้อื่นในชุมชนได้ อันจะนำไปสู่ การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขที่ยั่งยืน

1. ประชาชนร้อยละ 70 มีสุขภาพจิตดี เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตช่วงแผนฯ 10 1. ประชาชนร้อยละ 70 มีสุขภาพจิตดี 2. ประชาชนร้อยละ 70 มีความสามารถในการจัดการกับ ความเครียดได้อย่างเหมาะสม 3. อัตราการฆ่าตัวตายลดลงเหลือไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร

เพื่อให้...ประชาชนทุกกลุ่มวัย มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ภารกิจหลักของกรมสุขภาพจิต คือ .. การพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต สู่เครือข่าย เพื่อให้...ประชาชนทุกกลุ่มวัย มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข

การบูรณาการงานสุขภาพจิตในพื้นที่ ปี 2553 การบูรณาการงานสุขภาพจิตในพื้นที่ ปี 2553 เพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิต/ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต โครงการเผยแพร่กฎหมายสุขภาพจิต โครงการพัฒนาระบบบริการฯ โครงการบูรณาการเครือข่ายฯ โครงการป้องกันการฆ่า ตัวตาย การประชุมชี้แจงโครงการ การนิเทศ / ติดตามงาน การประชุมวิชาการ โครงการป้องกันโรคซึมเศร้า โครงการIQ/EQ ในอนาคต จะมีการจัดทำหลักสูตรการอบรม ที่มีการบูรณาการเนื้อหาด้านสุขภาพจิต ข้อดีของการบูรณาการงาน ประหยัดงบประมาณ & เวลา ของกรมฯ และ เครือข่าย เครือข่ายได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ โดยทราบเนื้องานที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด เป็นโอกาสที่จะนำไปวางแผน/บูรณาการงานในพื้นที่ได้ในคราวเดียว

หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติ ผสมผสาน หลักวิชา หลักปฏิบัติ

ยุทธศาสตร์ นโยบาย การปฏิบัติ นโยบาย ผสมผสาน ยุทธศาสตร์ การปฏิบัติ

แผนภาพแสดงปัจจัยความสำเร็จของยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงครึ่งหลังของแผนฯ 10 (พ.ศ.2553-2554) ประชาชนมีสุขภาพจิตดี ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม อัตราการฆ่าตัวตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสน ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิต มีชุมชนต้นแบบ ในการดูแลสุขภาพจิต รณรงค์ส่งเสริมความรู้แก่ประชาชน หมู่บ้าน/ชุมชนให้การยอมรับผู้ที่อยู่กับปัญหาภาพจิต ประชาชนรับรู้/เข้าถึงแหล่งบริการสุขภาพจิต

เนื้อหา IQ/EQ วัยรุ่น ครอบครัว คลายทุกข์สร้างสุข

กระบวนการ ค้นหา พัฒนา พากันขับเคลื่อน สู่สังคมสุขภาวะ

ค้นหา อสม. ต้นกล้าแห่งความดี 4808 คน ประสบการณ์การพัฒนาด้านสาธารณสุข ทุนทางปัญญา การพัฒนาพลังชุมชน

พัฒนา ต่อยอดทางปัญญา เรียนรู้ปัญหาชุมชนร่วมกัน เพื่อนช่วยเพื่อน

พากันขับเคลื่อน แผนสุขภาพชุมชน โรงเรียนนวตกรรม ชุมชนต้นแบบ อสม.ต้นแบบ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สู่สังคมสุขภาวะ สุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตแข็งแรง ชุมชนแข็งแรง สังคมแข็งแรงและเป็นสุขและยั่งยืน

THE END