สรุปผลการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพบริการ(P4P) ปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ประเด็นที่จะคุยกันในวันนี้
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การดำเนินการต่อสู้ การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา.
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
ข้อมูลทั่วไป 7 รพ. (1 รพศ./1 รพท./5 รพช.) 8 สสอ 80 สอ. 8 อำเภอ 58 ตำบล
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
การบริหารจัดการโรคเฉพาะ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สาขาโรคมะเร็ง.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพบริการ(P4P) ปี 2554 1

รูปแบบการจัดสรรงบประมาณของ สปสช. เหมาจ่ายรายหัว จ่ายชดเชยตามผลการบริการ จ่ายเป็นงบสนับสนุน จ่ายเพื่อพัฒนาระบบ จ่ายชดเชยเป็นยาและเวชภัณฑ์ จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพบริการ 2

แนวคิดการจ่ายงบตามเกณฑ์คุณภาพบริการ เป็นการจ่ายเพื่อมุ่งหวังให้หน่วยบริการให้ความสำคัญถึงการพัฒนาการบริการ ให้บรรลุถึงคุณภาพและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง จนมั่นใจได้ว่าภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประชาชนจะเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็นและได้รับบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ 3

การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2554 งบจัดสรรตาม เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2554 06/04/60 เกณฑ์คุณภาพผลงาน ระดับกิจกรรมพัฒนาบริการ ชี้แจงเขต@TheTideResort มีการทำข้อตกลงกับหน่วยบริการที่มีเงื่อนไขพร้อมในแต่ละกิจกรรมคุณภาพที่กำหนดและสมัครใจเข้าร่วม ตามเงื่อนไข เกณฑ์คุณภาพผลงานระดับผลลัพธ์ 4 29ตุลาคม2552 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 4

เกณฑ์คุณภาพผลงาน…ระดับกิจกรรมพัฒนาบริการ สนับสนุนงานเชิงรุกในการสร้างคุณภาพให้เกิด ในหน่วยบริการที่เป็นไปตาม service specification (process/end product) โรค/ประเด็น กิจกรรมพัฒนาบริการ มาตรฐาน หน่วยบริการ 1. การยกระดับการพัฒนาคุณภาพ รพ. ตามมาตรฐาน HA (ตามคะแนน Scoring Overall) 2. การจัดระบบ Complaint Management 3. Good Practice ด้าน Continuity care (discharge plan) ( เสนอโครงการแห่งละ 100,000.-) โรคเรื้อรัง 4. การจัดตั้งคลินิกอดบุหรี่ (แห่งละ 50,000.-) 5. โรค/ประเด็น อื่นที่จำเป็นในพื้นที่ (ถ้ามี) 5

เกณฑ์ตอบสนองกิจกรรมคุณภาพ (2) พัฒนาต่อเนื่องในขั้น 2 เดิม สถานะ คุณภาพ วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. 2 พัฒนาต่อเนื่องในขั้น 2 เดิม ฉ)พัฒนาต่อเนื่องในขั้น 2 เดิม ด้วยระดับคะแนนคุณภาพ (HA Overall Scoring ) 50,000 3 บันนังสตา ธารโต กาบัง 6

เกณฑ์ตอบสนองกิจกรรมคุณภาพ (3) ธำรงการรับรอง HA โดยมี Good Practice สถานะ คุณภาพ วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. 3 ธำรงการรับรอง HA โดยมี Good Practice ซ) ธำรงการรับรอง HA โดยมี Good Practice 50,000 1 รามัน 7

เกณฑ์ตอบสนองกิจกรรมคุณภาพ (3) สถานะ คุณภาพ วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. 3 รับรอง HAต่อเนื่อง ซ) รับรอง HA ต่อเนื่อง (Re – Accredit ) 100,000 1 ยะลา 8

เกณฑ์ตอบสนองกิจกรรมคุณภาพ (3) พัฒนาและรับรองเพียงขั้น 2 สถานะ คุณภาพ วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. 3 พัฒนาและรับรองเพียงขั้น 2 ณ) พัฒนาและรับรองเพียงขั้น 2 ด้วยระดับคะแนนคุณภาพ (HA Overall Scoring) 50,000 1 เบตง ยะหา 9

การจัดบริการคลินิกอดบุหรี่ วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. 1.สนับสนุนให้หน่วยบริการมีการจัดคลินิกอดบุหรี่ตามแนวทางการบำบัดรักษาผู้สูบบุหรี่ 1.จัดคลินิกอดบุหรี่แก่บุคคลทั่วไปในรูปแบบการดูแลผู้ป่วยนอก 2.มีสถานที่สำหรับให้บริการเป็นสัดส่วนและมีช่วงเวลามนการเปิด 50,000 ต่อเนื่อง 53 ยะลา 2.เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังและผู้ที่มีประวัติสูบบุหรี่ได้รับการบำบัด รักษาตามแนวทางและป้องกันบรรเทาอาหารรุนแรง ให้บริการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ปี 54 เบตง รามัน 10

Good Practice ในการดูแลต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ เมนูกิจกรรม สนับสนุน รพ.ละ จำนวน รพ. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบ Comprehensive Discharge Planning ให้ผู้ป่วยที่พ้นภาวะวิกฤติ ซึ่งไม่มีความจำเป็นในการนอนโรงพยาบาล สามารถมีการดูแล Sub Acute Care และConvalescent Care ต่อเนื่องที่บ้านโดยหน่วยบริการใกล้บ้าน - กลุ่มเป้าหมาย คือผู้ป่วยที่พ้นภาวะวิกฤติได้รับการดูแลต่อเนื่อง ได้แก่ Stroke หัวใจ มะเร็ง เอดส์ และโรคเรื้อรังอื่นๆ - จัดระบบการวางแผนจำหน่าย การดูแลต่อเนื่องระหว่างโรงพยาบาลและที่บ้าน - หน่วยบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการดูแลต่อเนื่อง เป็นแหล่งเรียนรู้แก่หน่วยบริการอื่นๆ 100,000 2 แห่ง ยะหา รามัน 11

แนวทางการบริหารงบจ่ายเพิ่มเติมตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ ปี 2554 จัดสรรตามเกณฑ์คุณภาพผลงานระดับผลลัพธ์ 6 ข้อ สถานะการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล คุณภาพระบบยา ความสมบูรณ์การบันทึกเวชระเบียน การรายงานข้อมูลการเฝ้าระวังคุณภาพบริการ ผู้ป่วย stroke ได้รับการบริการกายภาพ บำบัดในรพ. ผู้ป่วย STMEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด 12

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 1 สถานะการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล หน่วยบริการ รับส่งต่อ Pop UC 31 มี.ค. 2554 Q score 1 (0-5) บาทต่อปชก 1 ที่ได้ งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 1 รพ.ยะลา 154,902 5 8.484 831,039.0 รพ.เบตง 58,931 316,161.0 รพ.บันนังสตา 52,261 280,377.0 รพ.ธารโต 21,007 112,701.0 รพ.รามัน 79,541 426,732.0 รพร.ยะหา 52,818 3 5.091 170,019.0 รพ.กาบัง 20,894 67,257.0 13

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 2 คุณภาพระบบยา หน่วยบริการ รับส่งต่อ คะแนน ADR จาก อย. ADR High Alert DUE/DUR ASU Q score 3 (0-25) งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 2 รพ.ยะลา 4.8 5 4 24 601,355.0 รพ.เบตง 4.7 3 20 189,368.0 รพ.บันนังสตา 4.5 21 174,755.0 รพ.ธารโต 4.1 68,874.0 รพ.รามัน 25 320,468.0 รพร.ยะหา 4.6 23 194,710.0 รพ.กาบัง 19 63,392.0 14

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 3 ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน หน่วยบริการ รับส่งต่อ MRA External MRA Internal MRA rate 2 Q score 2 (0-5) งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 3 รพ.ยะลา 75.9 72.4 74.48 3 447,138.0 รพ.เบตง 79.2 83.0 80.72 4 226,813.0 รพ.บันนังสตา 84.3 88.7 86.07 5 251,426.0 รพ.ธารโต 71.7 70.7 71.27 60,639.0 รพ.รามัน 84.8 85.3 84.99 306,136.0 รพร.ยะหา 81.8 87.3 84.03 203,285.0 รพ.กาบัง 82.2 90.7 85.58 100,521.0 15

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 4 การรายงาน Quality Serveillance Indicator หน่วยบริการ รับส่งต่อ QSI 4 Q score 4 (0-5) งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 4 รพ.ยะลา 95 5 657,127.0 รพ.เบตง 90 249,998.0 รพ.บันนังสตา 221,702.0 รพ.ธารโต 100 89,116.0 รพ.รามัน 337,430.0 รพร.ยะหา 224,065.0 รพ.กาบัง 85 88,637.0 16

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 5 ผู้ป่วย Stroke ได้รับบริการกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพใน รพ. หน่วยบริการ รับส่งต่อ stroke (คน) 5 stroke rehab (คน) 5 percentage 5 Q score 5 (0-5) งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 5 รพ.ยะลา 377 96 25.46 2 231,863.0 รพ.เบตง 44 4 9.09 1 44,105.0 รพ.บันนังสตา - 0.0 รพ.ธารโต 5 รพ.รามัน 14 7.14 59,530.0 รพร.ยะหา 8 25.00 79,060.0 รพ.กาบัง 17

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 เกณฑ์ที่ 6 ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ( STEME) ได้รับยาละลายลิ่มเลือด หน่วยบริการ รับส่งต่อ STEMI (คน) Thrombolytic (คน) percentage Q score 8 (0-5) งบประมาณที่จัดสรรตามเกณฑ์ 6 รพ.ยะลา 114 60 52.63 5 131,425.0 รพ.เบตง 50,000.0 รพ.บันนังสตา 44,340.0 รพ.ธารโต 17,823.0 รพ.รามัน 67,486.0 รพร.ยะหา 44,813.0 รพ.กาบัง 17,727.0 18

ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 ข้อมูลการจัดสรรประมาณตามเกณฑ์คุณภาพ จังหวัดยะลา ปี 2554 หน่วยบริการ รับส่งต่อ รวมงบประมาณ ทั้งหมด ที่ได้รับจัดสรร รพ.ยะลา 2,899,947.00 รพ.เบตง 1,076,445.00 รพ.บันนังสตา 972,600.00 รพ.ธารโต 349,153.00 รพ.รามัน 1,517,782.00 รพร.ยะหา 915,952.00 รพ.กาบัง 337,534.00 19

สรุปผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA ปี 2554 จังหวัดยะลา 20

ข้อมูลสถานการณ์การรับรองคุณภาพ รพ. ตามมาตรฐาน HA ณ 31 ส.ค. 54 จาก สรพ. โรงพยาบาล ขั้นปัจจุบัน วันรับรอง วันหมดอายุ ยะลา 3(r2) 24 มิ.ย. 54 23 มิ.ย. 57 เบตง 3(r1) ก.ย. 54 สมเด็จพระยุพราชยะหา 2 10 ก.ย. 53 9 ก.ย. 54 รามัน 27 ก.พ. 52 26 ก.พ. 55 บันนังสตา 3 21 ธ.ค. 53 20 ธ.ค. 55 ธารโต 21 ก.พ. 54 20 ก.พ. 56 กาบัง 30 มิ.ย. 54 29 มิ.ย. 55 21

ข้อมูลสถานการณ์การรับรองคุณภาพ รพ. ตามมาตรฐาน HA ณ 31 ส.ค. 54 จาก สรพ. โรงพยาบาล ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ยะลา 3(r1e) 3(r2) เบตง 3 3(r1) สมเด็จพระยุพราชยะหา 3e 2 รามัน บันนังสตา ธารโต กาบัง 2e กรงปินัง - 1 22

ผลการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานวิชาชีพต่างๆ โรงพยาบาล QA LA ISO 15189 ยะลา  เบตง - สมเด็จพระยุพราชยะหา (รอผล) (HIV) รามัน บันนังสตา ธารโต กาบัง 23

หน่วยบริการที่ยังไม่ได้สรุปผลการดำเนินงานส่ง สปสช. 1.กองทุนจิตเวช 2.กองทุนไต 3.พัฒนาต่อเนื่องในขั้น 2 เดิม 4.พัฒนารับรองเพียงขั้น 2 ด้วยคะแนนคุณภาพ 5.คลินิกอดบุหรี่ รพ.ยะลา  รพ.เบตง รพ.บันนังสตา รพ.ธารโต รพ.รามัน รพร.ยะหา รพ.กาบัง 24