รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสมาชิก
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
กระบวนการจัดการความรู้
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ความดีเด่นของสถานศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นโยบายเร่งรัดการส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ITกับโครงการ Food safety
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ ความร่วมมือ กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการรับรองแหล่งผลิตพืชตามระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติการทางเกษตรที่ดี สำหรับพืช (GAP) อรรถ อินทลักษณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ

หลักการ กรมส่งเสริมการเกษตร หลักการ กรมส่งเสริมการเกษตร ยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลาง น้อมนำ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางสำคัญในการส่งเสริมการเกษตร

โดยมีศูนย์กลางการพัฒนาอยู่ที่ เป้าหมายความร่วมมือ สร้างความแข่งแกร่งให้ภาคการเกษตร ผ่านความร่วมมือทั้งการวิจัยและส่งเสริม โดยมีศูนย์กลางการพัฒนาอยู่ที่ “เกษตรกร”

ความร่วมมือ10 ปีที่ผ่านมา จุดมุ่งเน้น การปฏิบัติ ผลการพัฒนา กรรมการประสานงานวิจัยส่งเสริมฯระดับต่างๆ ความสอดคล้องระหว่างงานวิจัย และส่งเสริม ความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนา ความสัมพันธ์คุ้นเคยของจนท. ความสอดคล้องในระดับหนึ่ง

ความร่วมมือระยะ 5 ปีที่ผ่านมา จุดมุ่นเน้น การปฏิบัติ ผลการพัฒนา กวก การพัฒนาระบบการผลิต /รับรองมาตรฐาน GAP ประสานเฉพาะพื้นที่ และอาศัยความคุ้นเคยเป็นหลัก เป้าหมายการพัฒนาช้า จนท.ส่งเสริมความเข้าใจระบบGAP กสก การผลิตพืชปลอดภัย ขาดความเชื่อมั่น

ความร่วมมือปัจจุบันและอนาคต จุดมุ่นเน้น การปฏิบัติ ผลการพัฒนา MOU ระบบการจัดการคุณภาพพืชเป็นตัวขับเคลื่อน ความร่วมมือ งานเป็นระบบ สร้างความเข้มแข็งระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช เป้าหมายชัดเจน ภารกิจชัด เกษตรกรได้รับประโยชน์มากขึ้น

ความร่วมมือ ว่าด้วยการรับรองแหล่งผลิตพืช ตามระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติการทางเกษตรที่ดีสำหรับพืช (GAP)

ภารกิจและการเตรียมการ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร หน่วยทะเบียน ให้คำปรึกษาระบบ รับรองเบื้องต้น หน่วยตรวจ ประเมิน และรับรอง เกษตรกร ปี 2550 100,000 ราย

ผังขั้นตอนการดำเนินงาน รับสมัครจัดทำทะเบียนและออกรหัสเกษตรกรแปลงตามแบบ GAP01 เพื่อเข้าสู่การรับรองแปลง GAP พืช (กสก.)  ให้คำปรึกษาแนะนำเกษตรกร (กสก.)  ประเมินเบื้องต้นและรวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่ผ่าน (กสก.)  คณะผู้ตรวจรับรองนัดหมายและออกตรวจรับรอง (กวก.)  สรุปผลการตรวจรับรองแปลง(คณะกรรมการฯของสวพ.1-8 (กวก.)  ออกใบรับรองแหล่งผลิตพืช (กวก.)  ตรวจติดตามแปลงที่ได้การรับรองแหล่งผลิตพืช (กวก.)  ส่งใบรับรองแหล่งผลิตพืช (Q) ผ่าน ไม่ผ่าน ปรับปรุง

ขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกัน กสก กวก 1 รับสมัครเกษตรกร ทำหน้าที่นายทะเบียน อบรมนายทะเบียน 2 ให้คำปรึกษาเกษตรกร - อบรมที่ปรึกษาระดับอำเภอ - อบรมอาสาสมัครเกษตร - ให้คำปรึกษาเกษตร อบรมที่ปรึกษาระดับ เขต จังหวัด 3 การประเมินเบื้องต้น ประเมินตามขั้นตอน ส่งรายชื่อผู้ผ่าน พร้อมเอกสารให้หน่วยตรวจ ประสานงานให้คำปรึกษาเจ้าหน้าที่ 4 ตรวจประเมิน ประสานเกษตรกร ดำเนินการตรวจประเมิน แจ้งผลการประเมิน

การดำเนินการ ขั้นตอน กสก กวก 5 สรุปผลตรวจประเมิน 6.1 ออกใบรับรอง ประสานเกษตรกร ดำเนินการสรุปผลประเมิน แจ้งผลให้ กสก.ทราบ 6.1 ออกใบรับรอง ขึ้นทะเบียนผู้ผ่านการรับรอง ออกใบรับรอง 6.2 ต่ออายุ - แจ้งเกษตรกรทำคำร้อง - แจ้งหน่วยตรวจทำการประเมิน ดำเนินการตาม 4-6 ดำเนินการประเมิน ตาม 4- 6 7 ตรวจติดตามแปลง ตรวจเยี่ยมตามระบบส่งเสริมการตลาดผลผลิต ดำเนินการตรวจติดตามแปลง

การบริหารจัดการโครงการ กรรมการความร่วมมือระหว่าง กรมวิชาการเกษตรกรับกรมส่งเสริมการเกษตรในการรับรองแหล่งผลิตพืชตามระบบการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช (GAP) กำหนดแผน กำกับ ติดตาม นิเทศงาน แก้ไขปัญหาอุปสรรค

ขอขอบคุณครับ