โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนภูมิที่ 1 จำนวนเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับผลกระทบฯ ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาการบาดเจ็บทางกาย
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สาขาจิตเวช.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ แนวทางการดำเนินโครงการป้องกันเฝ้าระวัง และช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์

สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตาย ปี 2541-2553 ที่มา : สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

อัตราการทำร้ายตนเองปี 2545-2552 ที่มา: สนย. กระทรวงสาธารณสุข, 2545-2552 และจาก รง 2 มบ.1 2552

แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยบริการสาธารณสุขระดับ รพศ./รพท./รพช และ รพสต. 1. มีการติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตายเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. มีระบบการค้นหา คัดกรอง ดูแลและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตายรวมถึงการส่งต่อผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนได้

ตัวชี้วัดตามคำรับรองระดับหน่วยงาน ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการดูแลเฝ้าระวังและบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง

คำอธิบาย ผู้พยายามฆ่าตัวตาย หมายถึง ผู้กระทำการปลิดชีวิตตนเอง โดยสมัครใจและเจตนาที่จะตายจริง เพื่อให้หลุดพ้นจากการบีบคันหรือความคับข้องใจที่เกิดขึ้นในชีวิต ซึ่งอาจจะกระทำอย่างตรงไปตรงมา หรือกระทำโดยอ้อม ด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไม่เสียชีวิตด้วยเหตุใดก็ตาม

คำอธิบาย (ต่อ) 2. การบริการบำบัดรักษา : ผู้พยายามฆ่าตัวตายที่มารับบริการในหน่วยงานสาธารณสุข - ได้รับการคัดกรอง / เฝ้าระวังด้วยเครื่องมือ DS8 - ได้รับบริการทางสังคมจิตใจ / การให้การปรึกษา การบำบัดรักษาด้วยยาตามอาการที่พบ 3. การเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง : มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ภายหลังออกจากโรงพยาบาลกลับสู่ชุมชน และ/หรือ Follow up และ Refer รพ.สต ออกติดตาม

แนวทางการดำเนินงาน ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูลผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ ผู้พยายามฆ่าตัวตาย ผู้พยายามฆ่าตัวตายซ้ำ ปัจจัยกระตุ้น / ปัจจัยส่งเสริม การให้บริการบำบัดรักษา การติดตาม นำข้อมูลที่ได้จาก รง. 506 DS ทั้งหมดที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูแนวโน้ม และความไวในการป้องกันภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ขั้นที่ 2 วางแผนกิจกรรมให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบตามบริบทของแต่ละพื้นที่และดำเนินการตามแผนที่วางไว้

แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ขั้นที่ 3 จัดทำระบบบริการคัดกรอง ค้นหา เฝ้าระวังประชาชนกลุ่ม เสี่ยง พร้อมทั้งให้บริการบำบัดรักษาด้วยยา สุขภาพจิตสังคม การให้การปรึกษา และ การเยี่ยมบ้าน , Follow Up , Refer ขั้นที่ 4 บันทึกข้อมูลตามแบบ รง. 506 DS ลง www.suicidethai.com เมื่อพบภาวะซึมเศร้าและ / หรือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

สิ่งที่ต้องดำเนินการ ติดตามเยี่ยมบ้านผู้พยายามฆ่าตัวตายภายใน 15 วัน อย่างน้อย 1 ครั้งภายหลังจำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลและ/หรือนัดมาติดตามผลที่สถานบริการ (Follow Up) หรือ Refer ไปยัง รพ.สต ให้ออกติดตามเยี่ยม

สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ต่อ) 2. การเฝ้าระวังผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย - การป้องกันและช่วยเหลือผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย - มีการป้องกันและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (DS8+ve) - ป้องกัน ช่วยเหลือครอบครัว ชุมชน ภายหลังรับทราบว่ามีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ ทำร้ายกันถึงแก่ชีวิต 3. เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย เทียบกับปีที่ผ่านมา ≥ ร้อยละ 10 ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ โรคซึมเศร้าที่วินิจฉัย ตาม ICD 10 หมวด F32 , F33 , F34.1 , F38 และ F39

ผลลัพธ์ที่ต้องการ จำนวนและอัตราการติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตาย ≥ ร้อยละ 60 ผู้พยายามฆ่าตัวตายซ้ำลดลงจากปีที่ผ่านมา อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลงจากปีที่ผ่านมา ผลของการคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

สวัสดี