การบริหารจิต
ท่านั่งสมาธิท่าธรรมชาติ
ท่านั่งสมาธิราบ(ชั้นเดียว)
ท่านั่งสมาธิเพ็ชร(สองชั้น)
ท่านั่งเก้าอี้
ท่านั่งพิงฝาเหยียดเท้า
ท่ายืนสมาธิ
ท่านอนสมาธิ
ท่านอนสมาธิ
ประโยชน์ของการสวดมนต์ ไล่ความขี้เกียจและความง่วง ตัดความเห็นแก่ตัว จิตเป็นสมาธิ สงบ ตั้งมั่น ได้ปฏิบัติบูชา เกิดศีล สมาธิ ปัญญาครบไตรสิกขา เกิดพลังจิตและอานุภาพคุ้มครองรักษา
อิมานิ ปัญจะสิกขา ปทานิ สมาทิยามิ. ข้าพเจ้าขอสมาทานศีลห้า. คำสมาทานศีลโดยย่อ อิมานิ ปัญจะสิกขา ปทานิ สมาทิยามิ. ข้าพเจ้าขอสมาทานศีลห้า. อิมานิ อัฏฐะสิกขา ปทานิ สมาทิยามิ. ข้าพเจ้าขอสมาทานศีลแปด.
คำปฏิญาณตนรักษาศีล ๕ ศีล ๕ ที่ข้าพเจ้าได้ตั้งใจแล้ว สมาทานแล้ว, ข้าพเจ้าจะเพียรรักษาไว้มิให้ขาด, มิให้ทำลายตั้งแต่บัดนี้เป็นตันไป, ขออานิสงส์แห่งศีลนี้ จงคุ้มครองป้องกัน, ให้ข้าพเจ้าปลอดภัยในที่ทุกสถาน, อายุยั่งยืนนาน มีความสุขความเจริญรุ่งเรือง, ตลอดกาลนาน.
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวราสุขะชีวิโน. คำแผ่เมตตาโดยย่อ สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวราสุขะชีวิโน. ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวรต่อกัน ดำรงชีพอยู่เป็นสุขทุกเมื่อเถิด.
คำแผ่ส่วนกุศลโดยย่อ กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต. ขอสัตว์ทั้งสิ้นนั้น จงเป็นผู้มีส่วนได้เสวยผลบุญ ที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญแล้วนั้น เทอญ.
คำอธิษฐานสมาธิ “ข้าพเจ้าระลีกถึงคุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ คุณบิดา มารดา คูณครูบาอาจารย์ ขอให้ใจ ของข้าพเจ้าจงรวมลงเป็นสมาธิ พุทโธ ธัมโม สังโฆ (3 จบ) พุทโธ พุทโธ พุทโธ ”
คำแผ่เมตตาหลังจากทำสมาธิ “ สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ, อะเวราสุขะชีวิโน ขอให้สัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่มีเวร ต่อกันและกัน จงเป็นผู้ดำรงชีพ อยู่เป็นสุขทุกเมื่อเถิด”
คำอุทิศส่วนกุศลหลังจากทำสมาธิ “กะตังปุญญัง ผะลังมัยหัง, สัพเพภาคี ภะวันตุ เต ขอให้สัตว์ทั้งสิ้นนั้น จงเป็นผู้ได้ เสวยผลบุญ อันที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญ แล้วนั้นเทอญ”
การอบรมจิต 1. สมาธิภาวนา 2. วิปัสสนาภาวนา
ความ สุข องค์ประกอบการบริหารชีวิต บริหารงาน บริหารกาย บริหารจิต พลังกาย พลังจิต
เส้นทางการฝึกจิต 2. 1. สมถภาวนา = สมาธิ สติเข้มแข็ง ฌาน 1 - 9 ฌาน 1 - 9 1. = สมาธิ สติเข้มแข็ง (ศีล + สติ + สัมปชัญญะ) 2. วิปัสสนาภาวนา ญาณ 1 - 16 = ปัญญา มหาสติ + ปัญญา (ใช้กฎของไตรลักษณ์) ทางสายเอก คือ แนวทางมหาสติปัฏฐาน 4 (กาย-เวทนา-จิต-ธรรม)
กระบวนการการบริหารชีวิต ตามแนวทางพุทธศาสนา วิธีการ มรรค ๘ ๑.ศีล ๒.สมาธิ ๓.ปัญญา
กระบวนการการบริหารชีวิต ตามแนวทางพุทธศาสนา ขุมพลัง อินทรีย์ ๕ หรือ พละ ๕ ๑.ศรัทธา ๒.วิริยะ ๓.สติ ๔.สมาธิ ๕.ปัญญา
พุทธวิธีในการบริหารจิต ใจสงบ ใจสูงขึ้น พลังจิตเข้มแข็ง ๑. การรักษาศีล ๒. การไหว้พระสวดมนต์ ๓. การนั่งสมาธิ 8. การเจริญสติ ๔. การเดินจงกรม 9. การพิจารณาธรรม ๕. การนอนทำสมาธิ 10. การบำเพ็ญบุญ ๖. การนับลูกประคำ 11. การแผ่เมตตา ๗. การใช้เสียงเพลง-ดนตรี 12.อุทิศส่วนกุศล การปฏิบัติตามหลักธรรม ฯลฯ
จงเตือนตน ด้วยตนเอง “ตนเตือนตนของตน ให้พ้นผิด จงเตือนตน ด้วยตนเอง “ตนเตือนตนของตน ให้พ้นผิด ตนเตือนจิตตนได้ ใครจะเหมือน ตนเตือนตนไม่ได้ ใครจะเตือน ตนแชเชือนใครจะเตือน ให้พ้นภัย”
ประเด็นอภิปราย การแผ่เมตตาและการอุทิศส่วนกุศล แตกต่างกันอย่างไร แหล่งที่มา :www.suddhavasa.org/wp.../2011/.../Buddhist-Rites2.p