หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมาย การแบ่งประเภท ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ ในอดีต 1.แบ่งตามยุคสมัย 2.แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก 3.แบ่งตามลำดับความสำคัญ -หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นอักษร -หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานสมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร และบันทึกในวัสดุต่างๆ -หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก - หลักฐานไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น หลักฐานโบราณคดี -หลักฐานปฐมภูมิ เช่น สนธิสัญญา - หลักฐานทุติยภูมิ อ้างอิง http://www.phawatsat.ob.tc/history05.html
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ความหมาย ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐานแล้วนำมาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น -ขั้นที่1 การกำหนดเป้าหมาย -ขั้นที่2 การรวบรวมข้อมูล -ขั้นที่3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน -ขั้นที่4 การตีความหลักฐาน -ขั้นที่5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ ข้อมูล อ้างอิง http://learn.pbi.ac.th/html/social2-3.htm
ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องจดบันทึกรายละเอียดต่างๆ ทั้งข้อมูลและแหล่งข้อมูลให้สมบูรณ์และถูกต้อง เพื่อการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา พิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งที่ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขั้นตอนนี้เป็นการสกัดหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือออกไปการวิพากษ์ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายใน http://learn.pbi.ac.th/html/social2-3.htm
นางสาว ธราทิพย์ เขื่องถุ่ง จัดทำโดย นางสาว ธราทิพย์ เขื่องถุ่ง มัธยมศึกษาปีที่ 5/1