แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง นางเกศรา แสนศิริทวีสุข วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555

กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง ปี 2556 4.งาน พัฒนา เครือข่าย SRRT (เกศรา) โครงสร้าง/ภาระงาน กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง ปี 2556 เกศรา แสนศิริทวีสุข (หัวหน้ากลุ่มระบาดวิทยาฯ) 1.งานเฝ้าระวัง ทางระบาด วิทยา ( พูลศรี ศิริโชติรัตน์) 2.งาน สอบสวน โรค (วลีรัตน์ พูลผล 3.งานข่าว กรองโรคและ ภัยสุขภาพ (วัชรชัย ครองใจ 4.งาน พัฒนา เครือข่าย SRRT (เกศรา) 5.งาน แผนงาน และ งานวิจัย (เกศรา) 6.งานเผยแพร่ข้อมูล และข่าวสารเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา (ชัยนันต์ บุตรกาล) 7. การ มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ ตามกลุ่มโรค 8.งาน ธุรการ (เตือนใจ คำมูล)

1.งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา พูลศรี ศิริโชติรัตน์ กลุ่มโรคติดต่อ - ชัยนันต์ บุตรกาล - ชนันรัตน์ ดวงบุปผา กลุ่มโรคไม่ติดต่อ -วลีรัตน์พูลผล - อภิญญา ดวงสิน กลุ่มบาดเจ็บ -วัชรชัย ครองใจ -เตือนใจ คำมูล กลุ่มโรคเรื้อรังฯและโรคจาก การประกอบอาชีพ -พูลศรี ศิริโชติรัตน์ -สำรวย ศรศรี กลุ่มโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน -อภิญญา ดวงสิน -เตือนใจ คำมูล กลุ่มโรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ -นางเกศรา แสนศิริทวีสุข

3.งานข่าว กรองโรค และภัย สุขภาพ 4.งานพัฒนา เครือข่าย SRRT 5.งาน แผนงาน และงานวิจัย 2.งาน สอบสวน โรค วัชรชัย ครองใจ ชัยนันต์ บุตรกาล ชนันรัตน์ ดวงบุปผา วลีรัตน์ พูลผล ชัยนันต์ บุตรกาล อภิญญา ดวงสิน สำรวย ศรศรี ทีมที่ 1 (อุบลฯ,อำนาจฯ, มุกดาหาร นครพนม) - พูลศรี ศิริโชติรัตน์ ,วัชรชัย ครองใจ,สำรวย ศรศรี,ชนันรัตน์ ดวงบุปผา ทีมที่ 2 (ศรีสะเกษ ยโสธร และจังหวัด สกลนคร) - วลีรัตน์ พูลผล,ชัยนันต์ บุตร กาล,อภิญญา ดวงสิน,เตือนใจ คำมูล เกศรา แสนศิริทวีสุข วลีรัตน์ พูลผล เตือนใจ คำมูล และงานวิจัย ทุกท่าน

6.งานเผยแพร่ ข่าวสารเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 7.การมอบหมาย ผู้รับผิดชอบตามกลุ่มโรค 8.งานธุรการ ชัยนันต์ บุตรกาล เกศรา แสนศิริทวีสุข อภิญญา ดวงสิน และทุกท่าน กลุ่มโรคอุบัติใหม่- อุบัติซ้ำ - เกศรา แสนศิริทวีสุข กลุ่มโรคเรื้อรังฯ และโรคจากการประกอบ อาชีพ - พูลศรี ศิริโชติรัตน์ กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง - วลีรัตน์ พูลผล กลุ่มโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนและการบาดเจ็บ - วัชรชัย ครองใจ กลุ่มโรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำ - ชัยนันต์ บุตรกาล กลุ่มโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน - อภิญญา ดวงสิน เตือนใจ คำมูล จันทร์เพ็ญ สุขอ้วน

ประเด็นสำคัญการดำเนินงานปีงบฯ 2556 ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ประเด็นสำคัญการดำเนินงานปีงบฯ 2556 ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค SRRT เน้นด้านคุณภาพ ขยายเครือข่ายSRRTระดับตำบล ครอบคลุมทุกตำบล เน้น 3 ร ประเมินคุณภาพมาตรฐาน SRRT ทุกระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด สคร 2. IHR และ ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านระบาดวิทยา เน้นสมรรถนะSRRT-IHR ด่านระหว่างประเทศ เพื่อตอบสนองต่อปัญหาฉุกเฉินด้านอาหาร โรคติดต่อ การประเมินสถานการณ์ฉุกเฉิน ระบบเฝ้าระวังโรคของด่าน ประสานการแจ้งข่าว ระบบการส่งต่อผู้ป่วย เป็น Joint outbreak investigation 3. ระบบงานเฝ้าระวังโรค 5 ระบบ เน้นพัฒนาเครือข่าย เพื่อเตรียมการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จัดระบบและพัฒนาฐานข้อมูลให้เกิดการใช้ประโยชน์ในการวางแผน วางยุทธศาสตร์ติดตาม ความก้าวหน้าและประเมินความเสี่ยงและผลกระทบ 4. ข่าวกรอง /การพยากรณ์โรค เน้นเรื่องวิชาการให้สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูล เขียนรายงานเตือนภัย พยากรณ์ปัญหาต่าง ๆ ในระดับพื้นที่/ประเทศ ที่มา : บันทึกข้อความกรมควบคุมโรค ที่ สธ 0404.6/ว 538 ลงวันที่ 20 เมษายน 2555 เรื่อง ส่งสรุปประชุมจุดเน้นการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

โครงการ/กิจกรรม สำนักระบาดวิทยา สคร.7 อบ. 1.พัฒนากลไกการเฝ้าระวังเหตุการณ์โดยทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล  จัดอบรมการเป็น Facilitator แก่ทีมส่วนกลาง และ สคร. เพื่อการถอดบทเรียนการดำเนินงานของ SRRT เครือข่ายระดับตำบล จัด ประชุมถอดบทเรียนทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบลในพื้นที่ 1 ครั้ง 2 วัน กลุ่มเป้าหมาย 100-150 คน/สคร. (บังคับ) 2.การอบรมและการจัดทำหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรระบาดวิทยาพื้นฐานแบบ E-learning (ม.ค.-มี.ค.56) การอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาก่อน ปฏิบัติการแก่ผู้ปฏิบัติงานใหม่ หรืออบรมฟื้นฟู หรือ อบรมต่อยอด ระดับอำเภอ จังหวัด เขตสคร.ที่ 1-12 (บังคับ) 3. การจัดประชุม/สัมมนา การประชุมหัวหน้ากลุ่มระบาดวิทยา สคร.ที่ 1-12 (ก.พ., พ.ค., ส.ค. 56) การประชุมเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาประจำจังหวัด (อาจใช้ VDO Conference) ไตรมาสละ 1 ครั้ง (บังคับ) 7

โครงการ/กิจกรรม สำนักระบาดวิทยา สคร.7 อบ. 4.พัฒนาระบบและฐานข้อมูลสนับสนุนการพยากรณ์โรค 1.จัดตั้งศูนย์พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ ปรับปรุงฐานข้อมูล และจัดหา software ที่จำเป็น 2.แต่งตั้งที่ปรึกษา/ผู้วิพากษ์ผลการศึกษาในแต่ละโรค 3.จัดอบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคและวิธีการพยากรณ์โรคแก่บุคลากรส่วนกลางและทีมพยากรณ์โรคจากทุก สคร. 4.จัดประชุมนำเสนอผลการพยากรณ์โรคฯและเปิดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในระดับกรมฯ 5.จัดทำรูปเล่มรวมผลการพยากรณ์โรค พร้อมเผยแพร่ ในภาพกรมฯ 6.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 1.จัดอบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคและวิธีการพยากรณ์โรคให้แก่บุคลากรฝ่ายต่างๆของ สคร. และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับเขต 2.จัดประชุมนำเสนอผลการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ ในระดับเขต/ จังหวัด 3.จัดทำรูปเล่มรวมผลการพยากรณ์โรค พร้อมเผยแพร่ในระดับเขต 4.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 8

โครงการ/กิจกรรม สำนักระบาดวิทยา สคร.7 อบ. 5.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับเขตและส่วนกลาง ทั้ง 5 ระบบ (ไตรมาสที่ 1) สำรวจบุคลากรที่รับผิดชอบงาน 5 ระบบในส่วนกลางและในระดับเขต เกี่ยวกับ -จำนวนบุคคลากร -ศักยภาพ -Training need สำรวจบุคคลากรที่รับผิดชอบงาน 5 ระบบในแต่ละจังหวัด เกี่ยวกับ 9

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 1. การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) 1 2 3 4 1.1. ประชุมถอดบทเรียนทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบลในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยาและเครือข่ายระดับตำบลๆ ละ3 คน ในพื้นที่เขต สคร.7 อบ รวม 70 คน 22 – 23 พ.ย. 55 1.2.อบรมหลักสูตรการตรวจสอบข่าวแก่ รพ.สต. รพ.สต. อำเภอละ 1 คน รวม 100 คน 1 วันทำการ ม.ค. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 1 2 3 4 1.3. นิเทศ ติดตาม รพ.สต. ที่ผ่านการอบรมอำเภอละ 1 คน รวม 100 คน ม.ค. – ก.ย. 56 1.4. สคร.วิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวัง เหตุการณ์ ในที่ประชุม คป.สข. ผู้บริหาร และผู้เข้าประชุม คป.สข.เขต 11 และ 13 ต.ค. 55 – ก.ย. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 1 2 3 4 1.5 จัดทำประกาศ/จัดหารางวัลให้แก่ทีมที่มีผลงานการเฝ้าระวังเหตุการณ์ พื้นที่เขตตรวจราชการที่ 11 และ 13 ก.ค. - ส.ค. 56 1.6 การอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาก่อนปฏิบัติการแก่ผู้ปฏิบัติงานใหม่/ฟื้นฟู/ต่อยอด ระดับอำเภอ จังหวัด ผู้ปฏิบัติงานระบาดวิทยาใหม่/ฟื้นฟู/ต่อยอด ระดับอำเภอ จังหวัดพื้นที่ สคร. 7 อบ. รวม 50 คน 4 วันทำการ 24-27 ธ.ค. 55

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 2. การพัฒนาด้านข่าวกรองและการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ 1 2 3 4 2.1. จัดประชุมราชการให้ความรู้ด้านข่าวกรอง เทคนิคและวิธีการพยากรณ์โรค ผู้รับผิดชอบงานระบาดและผู้เกี่ยวข้องระดับจังหวัดและสคร. 7 อบ. รวม 25 คน 1 วันทำการ เดือนมกราคม 55 2.2 พัฒนาระบบและฐานข้อมูลสนับสนุนการพยากรณ์โรค มี.ค. – ก.ค. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 1 2 3 4 2.3. ประชุมราชการนำเสนอผลการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ ในระดับเขต/ จังหวัด ผู้รับผิดชอบงานระบาดและผู้เกี่ยวข้องระดับจังหวัดและสคร. 7 อบ. รวม 25 คน เดือน ก.ค.56 2.4. จัดทำรูปเล่มรวมผลการพยากรณ์โรค พร้อมเผยแพร่ในระดับเขต เดือน ส.ค. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 1 2 3 4 2.5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบงานระบาดและผู้เกี่ยวข้องระดับจังหวัดและสคร. 7 อบ. รวม 25 คน เม.ย. – ส.ค. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 3.การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบโรค 1 2 3 4 3.1 สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับเขตและส่วนกลาง ทั้ง 5 ระบบ ผู้รับผิดชอบระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อและไม่ติดต่อ ด้านระบาดวิทยาในพื้นที่ สคร .7 อบ. 7 จังหวัด รวม 80 คน ต.ค. 55 – ก.ย. 56 3.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในพื้นที่ สคร. 7 อบ. 2 วันทำการ ก.พ. – มี.ค. 56

พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส ระยะเวลา 4. การพัฒนากระบวน การตอบโต้ภาวะฉุก เฉินทางระบาดวิทยา การสอบสวนโรคและการปฏิบัติตามกฎอนามัย ระหว่างประเทศ (IHR) 1 2 3 4 4.1 จัดอบรมฝึกทักษะด้านการเฝ้าระวังเหตุการณ์และการตรวจสอบข่าวการระบาดสำหรับทีม SRRT ระดับอำเภอและตำบลพื้นที่ตั้งด่าน - หัวหน้าด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ /หัวหน้าทีม SRRT ระดับอำเภอและตำบลฯ พื้นที่ตั้งด่านฯ เขตรับผิดชอบของ สคร. 7 อบ. รวม 50 คน 2 วันทำการ (ก.พ. 56) 4.2 สนับสนุนการตรวจทางห้อง Lab และการสอบสวนโรค 7 จังหวัด พื้นที่ สคร. 7 อบ ต.ค. 55 – ก.ย. 56