นโยบายโครงการโรงเรียนในฝัน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ศูนย์พัฒนา การเรียนการสอนโรงเรียนในฝัน
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โรงเรียนดีประจำตำบล.
โรงเรียนในฝัน
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
โครงการภายใต้ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การแต่งกายของนักเรียน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เล่าสู่กันฟัง ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนในฝัน
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
My school.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดการศึกษาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ปีงบประมาณ พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายโครงการโรงเรียนในฝัน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ข้อมูลโครงการโรงเรียนในฝัน 1. ข้อมูลพื้นฐาน โครงการโรงเรียนในฝันเริ่มดำเนินการคัดเลือกโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2546 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 8 ปีเต็ม

1.1 เกณฑ์การคัดเลือกทั้ง 3 รุ่น มีดังนี้ ก. ผู้บริหารและครูอาสาสมัครใจเข้าร่วมโครงการ ข. ชุมชนเป็นผู้คัดเลือกและพร้อมให้การสนับสนุน ค. สถานที่ตั้งอยู่ในชุมชน การคมนาคมสะดวก ง. มีสายโทรศัพท์ผ่านพร้อมเชื่อมต่ออินเตอร์เนทได้ จ. เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ฉ. เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวนครูเพียงพอ ช. เป็นโรงเรียนจัดการศึกษาในระดับใดก็ได้

1.2 จำนวนโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือก จำแนก 3 รุ่น ดังนี้ รุ่นที่/ ชื่อแต่ละรุ่น อนุบาล/ประถม 1-6 ขยายโอกาส มัธยม ศึกษา จำนวนรวม เลื่อนเป็น ร.ร.มาตรฐานสากล รุ่น 1 ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนในฝัน 78 183 659 920 66 รุ่น 2 โรงเรียนดีใกล้บ้าน 288 357 220 865 47 รุ่น 3 โรงเรียนดีประจำอำเภอ 19 475 347 841 11 รวม 385 1,015 1,226 2,626 124

ปัจจุบันมีโรงเรียนในฝันรวมทั้งสิ้น 2,626 โรงเรียน โดยเฉลี่ยอำเภอละ 3 โรงเรียน ยกเว้น กรุงเทพ 44 โรงเรียนรุ่นแรก 44 เขต/อำเภอ โรงเรียนในฝัน 2,502 โรงเรียน มีจำนวนครู 82,130 คน มีจำนวนนักเรียน 1,910,858 คน

1.3 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ตามแผนกลยุทธ์ดำเนินการตามหลัก balanced Scorecard และใช้เป็น KPI ประเมินรับรองโรงเรียนในฝัน

2. ผลการพัฒนาโครงการโรงเรียนในฝันทั้งระบบ (Whole School Approach = WSA) 2.1 ด้านการบริหารจัดการ (Management) โรงเรียนในฝันทั้ง 2,626 โรงเรียน มีดังนี้ ก. ผ่านการประเมินรอบสองจาก สมศ. ร้อยละ 100 ขอรับการประเมินรอบ 3 จำนวน 650 โรงเรียน ข. ผ่านการรับรองเป็นต้นแบบโรงเรียนในฝัน ร้อยละ 68.81 รุ่นที่ จำนวน ผ่านประเมินในฝัน คงเหลือ ผ่านประเมิน สมศ. รุ่น 1 920 รุ่น 2 865 791 74 รุ่น 3 841 96 745 รวม 2,626 1,807 1,564

ค. พัฒนาระบบ GIS สามารถเรียกดูได้ครบ ทั้ง 2,626 โรงเรียน พิกัดที่ตั้ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อัตราส่วนครูต่อนักเรียน อัตราส่วนนักเรียนต่อห้อง ง. จัดให้มีการสัมมนาประจำปีเพื่อรับฟัง นโยบายและพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนปีละครั้ง จ. จัดประชุมทางวิชาการ (Symposium) เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยที่เป็น best practices ของผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนของโครงการปีละครั้ง

ฉ. ทุกโรงเรียนพัฒนาด้านกายภาพ ได้แก่ การจัดสภาพภูมิสถาปัตย์ อาคารเรียน อาคารประกอบ ตลอดจนห้องสุขานักเรียนให้สะอาด สวยงาม ร่มรื่น ทันสมัยและปลอดภัย ช. ทุกโรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ที่เป็นห้องปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษและห้องสมุดที่มีชีวิต

2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach) ก. จัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระ จำนวน 967 ศูนย์ในโรงเรียนต้นแบบในฝัน ที่มีความพร้อมครบทุกจังหวัด 585 โรงเรียน เพื่อเป็นสถานที่ฝึกอบรมครูทุกคนในโครงการ จำนวน 31,152 คน โดยมีหลักสูตรการฝึกอบรม ที่ได้รับอนุมัติจาก สพฐ.

ข.พัฒนาครู ศึกษานิเทศก์ด้าน ICT 3,200 คน โครงการในฝันติดต่อสื่อสารและ update ข้อมูล ผ่าน www.labschools.net ขอให้ทุกโรงเรียนปรับข้อมูลโรงเรียนให้เป็นปัจจุบัน ผ่าน www.labschools.com ค.จัดหา software ที่เป็น freeware เพื่อพัฒนา การเรียนรู้นักเรียน เช่น วิชาคณิตศาสตร์ Geometers Sketchpad วิชาการงานอาชีพ Pro Desktop, Pro Engineering ง. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง ตามสิทธิเด็ก

2.3 ด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Extra Curricular) ก. ต้องมี Mini Company ทุกโรงเรียนเพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพเพื่อหารายได้ ระหว่างเรียนโดยผลิตสินค้าโรงเรียนในลักษณะ One School One Product (OSOP) เพื่อ พัฒนาให้เป็น OTOP สินค้าชุมชนต่อไป ข. ต้องมีสภานักเรียนเพื่อดำเนินการด้านจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณธรรมจริยธรรม ค. ต้องมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและใช้ แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนตามความสนใจของเด็ก

2.4 ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Participation) ก. การระดมทรัพยากรสนับสนุนโรงเรียนในฝันทั้ง 3 รุ่น โดยใช้มาตรการจูงใจในการลดหย่อนภาษี 2 เท่า วงเงินรวมทั้งสิ้น 3,910,008,548 บาท ข. ปัจจุบันรัฐวิสาหกิจ 29 แห่ง สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ให้การสนับสนุน ในลักษณะ CSR จำนวน 242 โรงเรียน ค. ทุกภาคส่วนของชุมชนแต่ละอำเภอ มีส่วนร่วม ในการพัฒนาโรงเรียน เช่น การประเมินต้นแบบในฝัน การระดมทุน ทั้งผู้ปกครององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ/หัวหน้าส่วนราชการ และคณะกรรมการสถานศึกษา

3. แนวทางการพัฒนาต่อยอดโครงการโรงเรียนในฝัน 8 ปีที่ผ่านมา โรงเรียนในฝันขาดการการดูแลพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในระดับนโยบาย เนื่องจากเป็นโครงการ flag ship ของพรรคไทยรักไทย ในสมัยนายกทักษิณ ชินวัตร งบประมาณที่ได้รับมาโดยเฉลี่ยโรงเรียนละ 1.5 ล้านบาท ในโรงเรียนรุ่นแรก และรุ่นต่อ ๆ มาเฉลี่ยโรงเรียนละ 456,000 บาท ส่วนวัสดุครุภัณฑ์ด้าน ICT จำนวนคอมพิวเตอร์ เฉลี่ยประมาณโรงเรียนละ 10 ชุด ในขณะที่จำนวนนักเรียน เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและจำนวนครูยังขาดแคลนอยู่จำนวนมาก

การพัฒนาต่อยอดโครงการให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลและรมวกระทรวง ศึกษาธิการ มีดังนี้ 3.1 การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบในฝันที่มีความพร้อม ทุกด้านให้ก้าวไปสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล (world Class) จำนวน 1,000 โรงเรียน กำหนดเป้าหมาย ในปี 2555 จำนวน 500 โรงเรียน ปี 2556 จำนวน 500 โรงเรียน สนับสนุนการปรับห้องเรียนให้ได้มาตรฐาน ทันสมัยในการใช้เทคโนโลยี (e-classroom)

3.2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิตนักเรียน ให้มีนิสัยรักงาน รักอาชีพ เพื่อเตรียมความพร้อมเยาวชนในการก้าวเข้าสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558 กำหนดมาตรการ “1 โรงเรียน 1 งานอาชีพ” ที่เป็นการสร้างเสริมงานอาชีพทีครบวงจร ลักษณะงานวิจัยและพัฒนา (R&D) เพื่อหารายได้ระหว่างเรียนได้จริง ประสานข้อมูลที่เป็นความต้องการทางการตลาด กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพานิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงต่างประเทศ 3.3 พัฒนาโรงเรียนในฝันให้เป็นโรงเรียนผู้นำด้าน ICT และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยเน้น ภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้าน เช่น จีน พม่า ยาวี เวียตนาม ลาว เขมร เป็นต้น