บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
กลุ่มที่ 1.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ADDIE Model.
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI จังหวัดเพชรบุรี

การเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตาม HIVDR-EWI การวางแผนและการประสานงานการเก็บข้อมูลภายในทีม สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม การลงข้อมูลในโปรแกรม และระยะเวลาลงข้อมูล อื่นๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ์

การวางแผนและการประสานงานการเก็บข้อมูลภายในทีม เป้าหมาย 4 โรงพยาบาล ดำเนินการจริง 8 โรงพยาบาล มีการประชุม HIV CO. ทั้ง 8 แห่ง ในการเตรียมข้อมูล ได้แก่ แฟ้ม OPD เป็นต้น เพื่อตรวจสอบและบันทึกในแบบเก็บข้อมูล ชี้แจงแบบเก็บข้อมูล จัดทีมลงไปช่วยเก็บข้อมูล ทั้ง 8 โรงพยาบาล แห่งละ 5-10 คน ขึ้นกับจำนวนผู้ป่วย กำหนด วัน เวลา โรงพยาบาลที่เข้าดำเนินการ การเก็บข้อมูล HIV CO. ของโรงพยาบาลจะต้องสรุปการบันทึกข้อมูลของโรงพยาบาล ให้แก่ทีมเก็บข้อมูล

สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม ข้อมูลในการดำเนินงานของโรงพยาบาล บางอย่างไม่มีในเอกสาร แต่อยู่ใน NAP บางอย่างไม่มีเลย การขาดยา : บางแห่งมีระบบในการบริหารจัดการโดยผู้ป่วยมียากิน โดยไม่ได้รับบริการที่คลินิกยาต้าน เช่น ของจากแผนก ER ห้องจ่ายยา หรือกลุ่มเพื่อน Adherence : การบันทึกของโรงพยาบาลระบุ “มากกว่า 95%” แต่แบบเก็บต้องใช้ “100%” จึงไม่สามารถยืนยันได้ว่าได้ตามเกณฑ์ของโปรแกรมหรือไม่

สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม หน่วยในแบบเก็บข้อมูล ยา : ต้องใส่จำนวนเม็ดยา แต่โรงพยาบาลบางแห่งระบุแค่รายการยาไม่ได้ระบุเม็ดยา (ซึ่งต้องไปค้นใบสั่งยารวมทั้งเดือนจากห้องจ่ายยา) วันนัด : หน่วยเป็นสัปดาห์ แต่โรงพยาบาลบันทึกเป็นวัน จึงต้องคำนวณเวลาใหม่ ผู้ป่วย การจำแนกผู้ป่วยรายใหม่ : ผู้บันทึกไม่แน่ใจว่าเคยกินยาจากหน่วยบริการอื่นหรือไม่ เพราะผู้ป่วยบอกว่าไม่เคยกินยา วันที่เริ่มยาของผู้ป่วย : ไม่สามารถระบุวันที่เริ่มกินยาได้ ถ้าไม่ได้เริ่มยาที่โรงพยาบาลนั้น ๆ (ผู้ป่วยระบุเป็นปี เดือน หรือช่วงเวลา ไม่สามารถกำหนดวันที่แน่นอนได้)

การลงข้อมูลในโปรแกรม และระยะเวลาลงข้อมูล โปรแกรมไม่เป็นมิตรกับผู้บันทึก ตัวอักษรมีขนาดเล็ก : ปัจจุบันการตั้งค่าหน้าจอคุณภาพสูง ทำให้หน้าโปรแกรมมีขนาดเล็ก มีการแก้ไขเบื้องต้นโดยการแก้ค่าคุณภาพจอให้อยู่ในระดับต่ำ เพื่อให้ตัวอักษรใหญ่ขึ้น เมื่อข้อมูลผิดพลาด ไม่สามารถแก้ไขได้ ระยะเวลาในการลงข้อมูลของทุกโรงพยาบาลเสร็จสิ้นภายใน 1 เดือน

อื่นๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ... .

แนวทางการนำ HIVDR-EWI ไปใช้ประโยชน์ เมื่อเห็นค่าตัวชี้วัดแล้วสามารถบอกอะไรต่อผู้ให้บริการบ้าง ตัวชี้วัดใดที่ผิดปกติ เหตุผลมาจากสาเหตุใด ทางทีมมีการวิเคราะห์เหตุผลหรือไม่อย่างไร

แนวทางการนำ HIVDR-EWI ไปใช้ประโยชน์ หากเห็นว่าตัวชี้วัดยังห่างจากเกณฑ์เป้าหมาย ทางทีมมีการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการเก็บข้อมูล หรือการให้บริการ หรือแนวทางการติดตามอย่างไรบ้าง การวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับการพัฒนาเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาในพื้นที่

เมื่อเห็นค่าตัวชี้วัดแล้วสามารถบอกอะไรต่อผู้ให้บริการบ้าง สามารถบอกจุดอ่อน และนำไปสู่การปรับปรุงบริการในประเด็นนั้น ๆ ได้

EWI 4b : ร้อยละของผู้มารับยาทันเวลา ทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา ตัวชี้วัดใดที่ผิดปกติ เหตุผลมาจากสาเหตุใด ทางทีมมีการวิเคราะห์เหตุผลหรือไม่อย่างไร EWI 4b : ร้อยละของผู้มารับยาทันเวลา ทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา EWI 5b : ร้อยละของผู้มารับบริการตามนัดทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา

หากเห็นว่าตัวชี้วัดยังห่างจากเกณฑ์เป้าหมาย ทางทีมมีการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการเก็บข้อมูล หรือการให้บริการ หรือแนวทางการติดตามอย่างไรบ้าง .

สสจ. สนับสนุนให้โรงพยาบาล การวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับการพัฒนาเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวี ดื้อยาในพื้นที่ สสจ. สนับสนุนให้โรงพยาบาล จัดทำระบบข้อมูลผู้รับบริการ “สูตรยาของผู้รับยาและคู่” เมื่อผู้ป่วยไม่พร้อมกินยาต่อ เจ้าหน้าที่จะทำอย่างไร